อาหารจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ และการวิเคราะห์ความเสี่ยง อาหารจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ และการวิเคราะห์ความเสี่ยง ดร. สุทธิพันธุ์ แก้วสมพงษ์ ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อาหารจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ อาหารที่ได้จากการประยุกต์ใช้เทคนิคการถ่ายทอดกรดนิวคลีอิกภายนอกสิ่งมีชีวิตเข้าสู่เซลล์ ซึ่งรวมถึงเทคนิครีคอมบิแนนท์ดีเอนเอ และการฉีดกรดนิวคลีอิกเข้าสู่เซลล์หรือออร์แกเนลล์โดยตรง และการรวมกันของเซลล์ที่แตกต่างกันในระดับวงศ์ ตามหลักอนุกรมวิธาน อาหารจาก GMOs
What is GMOs? Genetically Modified Organisms สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม สิ่งมีชีวิตที่ได้จากการดัดแปลง หรือตกแต่งสารพันธุกรรมหรือดีเอนเอ
GMOs on Sale Melon Corn Papaya Soy bean Rape seed Tomato Cotton Potato Chicory Squash Melon Papaya Rape seed Cotton Tobacco
GMOs เปรียบได้กับ เหรียญสองด้าน
ผลเสียที่อาจเกิดจาก GMOs การเกิดสารพิษในอาหาร การทำลายห่วงโซ่อาหาร การทำลายสภาวะแวดล้อม
สถานการณ์ในประเทศไทย ยังไม่มีการอนุญาตให้ปลูกพืช GM ในประเทศไทย อนุญาตเฉพาะการทดลองวิจัยเท่านั้น พืชที่มีการทดลองในระดับแปลงปลูก คือ ฝ้าย มะละกอ และสัปปะรด แต่มีการนำเข้าผลิตภัณฑ์ หรือวัตถุดิบจาก GMOs เช่น ถั่วเหลือง ข้าวโพด ฯลฯ
การวิเคราะห์ความเสี่ยง กรณีศึกษาใน Starlink corn (แม้ว่า starlink corn จะไม่ใช่อาหาร แต่ก็เป็นพืชอาหารสัตว์ที่ใกล้เคียงกับอาหารมนุษย์ มีการศึกษาที่ชัดเจน กรุณาดูบทความแนบ)