ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Advertisements

การประสานงาน.
หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย.
การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ของเด็กแต่ละวัย
ทักษะการทำงานร่วมกันเป็นทีม
ทักษะการทำงานร่วมกันเป็นทีม
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
The Power of Communication
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
น.ส. บุญศรี โชติวรรณวิวัฒน์
การบริหารกลุ่มและทีม
วิธีการทางสุขศึกษา.
การพัฒนาอาชีพช่างของผู้นำยุคใหม่ เพื่อตอบสนองกองทัพเรือ
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การบริหารความขัดแย้ง
การติดตาม และประเมินโครงการ.
LEARNING ORGANIZATION
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
การบริหารความพึงพอใจของทีมงาน
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ชื่อตัวบ่งชี้ 2.3 : เงินสนับสนุนงานวิจัยและงาน สร้างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อ อาจารย์ประจำ ( บาท ) 1. จุดอ่อน 1. อัตรากำลังของคณะฯ มีจำนวนน้อยและมีภาระ งานรับผิดชอบที่หลากหลาย.
ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์ วิธีคิดแบบนักบริหาร ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์
องค์การ Organization.
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
การจูงใจ (Motivation)
สุขภาพจิต และการปรับตัว
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
1. สรร หา 2. พัฒนา 3. รักษา 4. ใช้ให้ตรง ความถนัด.
ความดีเด่นของสถานศึกษา
บทที่ 4 Organization กำหนดโครงสร้างที่เหมาะสม Org.Chart
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
เคล็ดลับในการฝึกงาน ให้ประสบความสำเร็จ!!!
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
Participation : Road to Success
การวัดผล (Measurement)
เราเป็นผู้นำ.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
TEAM WORK.
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
เนื้อหาพิเศษ : การตั้งเป้าหมาย
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ทักษะการจัดการทรัพยากรมนุษย์
บทที่ 4 หลักและวิธีการพัฒนาชุมชน
WHAT IS THE PROJECT?.  งานต่างๆ ที่ออกแบบเพื่อทำให้ วัตถุประสงค์ที่เฉพาะเจาะจงสำเร็จ ลุล่วงภายในเวลาที่กำหนด คุณจะ พัฒนาผลการดำเนินงานได้ด้วย การคิดหางานที่จะช่วยให้บรรลุ
การสร้างทีมงานในการบริหารโครงการ
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
อุดมการณ์ และจิตวิญญาณ ของความเป็นครู.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
บทที่1 การบริหารการผลิต
วิพากษ์วิจารณ์ข้อดีของทฤษฎี
การทำงานเป็นทีม การทำงานเป็นทีม หมายถึง กลุ่มคนที่ต้องมาทำงานร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์อย่างเดียวกันและเป็นการรวมตัวกัน โดยอาศัยความรู้ ความเข้าใจ ความผูกพัน.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม การทำงานเป็นทีม ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม

ความหมายของการทำงานเป็นทีม การทำงานเป็นกลุ่มบุคคล(work team) คือการทำงานโดย บุคคลหลายคน โดยมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน และมีการแบ่งสรร หน้าที่กันแล้วแต่ละคนมีความพึงพอใจในหน้าที่ของตน การทำงานเป็นทีม (team work) คือกลุ่มบุคคลที่มีการ ประสานงานกัน ร่วมมือกัน สามัคคี มีเป้าหมายร่วมกัน และเชื่อ ใจกัน

ประโยชน์ของการทำงานเป็นทีม 1. ผลงานย่อมสูงกว่าคนเดียวทำ 2. ผลสำเร็จเป็นของทีมงาน 3. มีความรู้สึกที่ดี 4. เกิดพลัง

ความสำคัญของการทำงานเป็นทีม 1. งานบางชนิดไม่สามารถทำสำเร็จเพียงคนเดียว 2. หน่วยงานมีงานเร่งด่วนที่ต้องการระดมกำลังคน 3. เป็นงานที่ต้องอาศัยความรู้ความสามารถจากหลายฝ่าย 4. งานบางชนิดเป็นงานที่มีหลายหน่วยงานรับผิดชอบ 5. เป็นงานที่ต้องการความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 6. หน่วยงานต้องการสร้างบรรยากาศของความสามัคคีให้เกิดขึ้น

ลักษณะที่ดีของการทำงานเป็นทีม 1. บรรยากาศภายในกลุ่มควรอบอุ่นและเป็นมิตรต่อกัน 2. สมาชิกทุกคนเข้าใจวัตถุประสงค์ของกลุ่มตรงกัน 3. สมาชิกสนทนาและปรึกษาในสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อกลุ่ม 4. สมาชิกโต้แย้งกันด้วยเหตุผลและหลักการ ไม่นำความรู้สึก ส่วนตัวและอคติมาเกี่ยวข้อง 5. แม้มีการขัดแย้งกันในด้านความคิด แต่สมาชิกทุกคนยังเต็ม ใจที่จะเป็นส่วนรวมของกลุ่ม

ลักษณะที่ดีของการทำงานเป็นทีม 6. การพิจารณาความ มุ่งสร้างสรรค์ และแก้ปัญหาในการ ทำงาน ไม่เป็นการวิจารณ์เรื่องส่วนตัว 7. การตัดสินใจดำเนินการของกลุ่มเป็นไปโดยความเห็น ร่วมกันเป็นส่วนใหญ่บนพื้นฐานของความถูกต้องและความดี 8. ทุกคนยอมรับในความสามารถของกันและกัน 9. ผู้นำและผู้ร่วมงานไม่บีบบังคับซึ่งกันและกัน 10. มีการตรวจสอบการทำงานของทีมเป็นระยะ ๆ

ความแตกต่างของมนุษย์ที่ต้องคำนึงถึง 1. เพศ 2. วัย 3. การศึกษา ความสามารถ ประสบการณ์ 4. ความเชื่อ 5. รสนิยม 6. รูปร่าง 7. สิ่งแวดล้อม

องค์ประกอบของทีม 1. วัตถุประสงค์(objective) 2. ระบบทีม(team organization) 3. สมาชิกทีม(team member) 4. ผู้นำทีม(team leader) 5. อำนาจความรับผิดชอบ(authorization)

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อทีม 1. ความขัดแย้ง 6. การเสียสละ 2. ความจริงใจ 7. ความแตกต่าง 3. ผลประโยชน์ 8. เรื่องส่วนตัว 4. การมีส่วนร่วม 9. ประสบการณ์ 5. การนำเสนอ 10. การใช้คำพูด

สาเหตุของการเกิดข้อขัดแย้งของทีม 1. ประสบการณ์ส่วนบุคคล 2. การเปลี่ยนแปลงไปจากปกติวิสัย 3. ศักดิ์ศรีแห่งตน(เสียหน้า/ไม่กลัวเสียหาย) 4. การถกเถียง 5. ขาดข้อมูลสนับสนุน

การขจัดข้อขัดแย้งของทีม 1. เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นเต็มที่ 2. หลีกเลี่ยงการพูดเรื่องส่วนตัว 3. มุ่งประเด็นไปที่ข้อขัดแย้ง 4. อย่าใช้ภาษาดูถูก หลีกเลี่ยงการเสียดสี 5. เคารพความคิดเห็นและประสบการณ์ 6. ยึดหลักเหตุผล ใช้หลักฐานข้อมูล

อุปสรรคการทำงานเป็นทีมจากผู้นำทีม 1. ขาดการวางแผน/แนวทางปฏิบัติ 2. ไม่มีการแบ่งงาน/กระจายงานที่ชัดเจน 3. คำสั่งที่ไม่ชัดเจน/เปลี่ยนแปลงบ่อยๆ 4. ขาดการติดตามงานที่ดี 5. ขาดการสอนงาน การแนะแนวทาง 6. ไม่ได้แบ่งงานตามความถนัด 7. ขั้นตอนปฏิบัติงานไม่ชัดเจน

อุปสรรคการทำงานเป็นทีมจากผู้นำทีม 8. ขาดการประสานงานหรือผู้รับผิดชอบ 9. ขาดการควบคุมคุณภาพระหว่างปฏิบัติงาน 10. ไม่ได้คำนึงถึงความพร้อมหรือปัจจัยสำคัญ

อุปสรรคการทำงานเป็นทีมจากสมาชิกในทีม 1. ขาดความร่วมมือร่วมใจ 2. ไม่ตระหนักถึงการวางแผนร่วมกัน 3. รับคำสั่งปราศจากการทบทวน 4. ไม่ถามเมื่อสงสัย 5. ขาดการเรียงลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. ขาดความชำนาญ ผู้ชำนาญในทีม 7. ไม่กำหนดเวลางานแล้วเสร็จ/บรรลุ

อุปสรรคการทำงานเป็นทีมจากสมาชิกในทีม 8. ขาดการสอนงานกันเอง 9. ไม่ยอมรับกันภายในกลุ่ม 10. ไม่เพิ่มพูนความรู้ภายในทีม