เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
สื่อการสอน เรื่องการบวก ลบ คูณ หาร ระคน
อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
ป.3 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน100,000”
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้
นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
เรื่อง การคูณ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดย ครูเพ็ญพิมล สิทธิวรเกียรติ
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
สาระที่ 4 พีชคณิต.
ป.6 บทที่ 1 “จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหาร”
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน มัธยมศึกษาปีที่ 1
การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน (จำนวนเต็มบวก) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางพรเรียง ก๋งแก้ว สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
อสมการ.
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
Introduction to Digital System
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
กศน. สบเมย.. คณิตศาสตร์สุดหรรษา การบวก ลบ คูณ หารระคน.
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ตัวประกอบ. ตัวประกอบ ความหมาย ตัวประกอบของจำนวนนับใด ๆ หมายถึง จำนวนนับที่หารจำนวนนับนั้นได้ลงตัว.
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
เศษส่วน.
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ระบบเลขฐานต่าง ๆ By ครูนภาพร.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว ชุดการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 2 เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร มาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 1.2 (1 – 4) , 1.4 (2) , 6.2 (1) , 6.3 (1) , 6.4 (1 – 2) และ 6.5 (1) ผู้สอน นายประยุทธ เขื่อนแก้ว

สาระการเรียนรู้ การบวกจำนวนที่มีหลายหลักสองจำนวน สมบัติการสลับที่และการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก การลบจำนวนที่มีหลายหลักสองจำนวน สมบัติการสลับที่และการเปลี่ยนกลุ่มของการคูณ สมบัติการแจกแจงของการคูณ การคูณจำนวนที่หลายหลักกับจำนวนที่มีหลายหลัก การหารจำนวนที่ตัวตั้งและตัวหารมีหลายหลัก โจทย์ปัญหาการบวก การลบการคูณและการหาร การบวก การลบการคูณ การหาร ระคน โจทย์ปัญหาการบวก การลบการคูณ การหาร ระคน การสร้างโจทย์ และโจทย์ปัญหา

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เมื่อกำหนดโจทย์การบวก การลบ การคูณและการหารให้สามารถหาคำตอบ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ และแสดงวิธีทำได้ เมื่อกำหนดโจทย์การบวก การลบ การคูณและการหารระคนให้สามารถหาคำตอบ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ และแสดงวิธีทำได้ เมื่อกำหนดโจทย์ให้สามารถใช้สมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม และสมบัติการแจกแจงเพื่อช่วยในการคิดคำนวณได้ เมื่อกำหนดโจทย์การบวก การลบ การคูณและการหารให้สามารถวิเคราะห์โจทย์หาคำตอบและแสดงวิธีทำพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ เมื่อกำหนดโจทย์การบวก การลบ การคูณและการหารระคนให้สามารถวิเคราะห์โจทย์หาคำตอบและแสดงวิธีทำพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ เมื่อกำหนดสถานการณ์ให้ สามารถสร้างโจทย์และโจทย์ปัญหาพร้อมทั้งหาคำตอบ และแสดงวิธีทำได้

สมบัติการสลับที่ของบวก สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก การบวก (Addition) หมายถึง การนำจำนวนสองจำนวนมารวมกัน รวมสองจำนวนเข้าด้วยกัน ผลของการรวมกัน จากภาพเขียนประโยคสัญลักษณ์ได้ว่า 6  5 = 11 ตัวตั้ง ตัวบวก ผลบวก หรือ ผลรวม หรือ ผลลัพธ์

จำนวนสองจำนวนรวมกันเราสามารถสลับตำแหน่ง จากตัวตั้งเป็นตัวบวก และจากตัวบวกเป็นตัวตั้งได้ โดยผลบวกจะมีค่าเท่ากัน เรียกว่า สมบัติการสลับที่ของการบวก เช่น 25 + 30 = 55 30 + 25 = 50 ดังนั้น 25 + 30 = 30 + 25 27 + 73 = 100 73 + 27 = 100 ดังนั้น 27 + 73 = 73 + 27 ดังนั้นสรุปได้ว่า A + B = B + A

ดังนั้นสรุปได้ว่า 25,430 + 13,789 = 13,789 + 25,430 = 39,219 ตัวอย่าง จงหาผลบวกต่อไปนี้ และสรุปว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่ ก. 25,430 + 13,789 =  วิธีทำ 25,430 13,789  39,219 ข. 13,789 + 25,430 =  วิธีทำ 13,789 25,430  39,219 ดังนั้นสรุปได้ว่า 25,430 + 13,789 = 13,789 + 25,430 = 39,219

สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก รวมสามจำนวนเข้าด้วยกัน ผลของการรวมกัน จากภาพเขียนประโยคสัญลักษณ์ได้ว่า 8  4  6 = 18 จำนวนที่ 1 จำนวนที่ 2 จำนวนที่ 3 ผลบวก หรือผลลัพธ์ ( 8  4 )  6 = 18 หรือ 8  ( 4  6 ) = 18

จำนวนสามจำนวนรวมกัน สามารถนำจำนวนที่ 1 รวมกับจำนวนที่ 2 ก่อน แล้วจึงนำจำนวนที่ 3 มารวม หรือ นำจำนวนที่ 2 รวมกับจำนวนที่ 3 ก่อน แล้วจึงนำจำนวนที่ 1 มารวม โดยผลบวกจะมีค่าเท่ากัน เรียกว่า สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก เช่น (45 + 30) + 23 = 45 + (30 + 23) 75 + 23 = 45 + 53 98 = 98 (57 + 43) + 65 = 57 + (43 + 65) 100 + 65 = 57 + 108 165 = 165 ดังนั้นสรุปได้ว่า ( A + B ) + C = A + ( B + C )

ตัวอย่าง จงหาผลบวกต่อไปนี้ และสรุปว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่ ตัวอย่าง จงหาผลบวกต่อไปนี้ และสรุปว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่ (5,243 + 3,809) + 1,254 =  วิธีทำ = (5,243 + 3,809) + 1,254 = 9,052 + 1,254 = 10,306 5,243 + ( 3,809 + 1,254 ) =  วิธีทำ = 5,243 + (3,809 + 1,254) = 5,243 + 5,063 = 10,306 ดังนั้นสรุปได้ว่า (5,243+3,809)+1,254 = 5,243+(3,809+1,254) = 10,306