การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Knowledge Management (KM)
Advertisements

ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
เพื่อรับการประเมินภายนอก
EQ หลักสูตร การบริหารอารมณ์ สู่การทำงานอย่างมืออาชีพ
Presentation of Ag. Info. w. Computer
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Knowledge Management (KM)
LEARNING ORGANIZATION
Learning Organization
LEARNING ORGANIZATION
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
และอนามัยสิ่งแวดล้อม
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
การเขียนรายงานการวิจัย
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
รวบรวมโดย นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์, Ph.D.
1 การเสนอโครงการภายใต้ กรอบความร่วมมือเอเปค สำนักความร่วมมือการลงทุน ต่างประเทศ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน.
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การสร้างวินัยเชิงบวก
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
สรุปที่เรียนมา วิเคราะห์การบ้านงานกลุ่ม
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
กระบวนการวิจัย Process of Research
ความฉลาดทางอารมณ์ ของตัวเรา. ความฉลาดทางอารมณ์ ของตัวเรา.
บทที่ 11.
อ่านอะไรและอ่านอย่างไรเพื่อพัฒนาตนในด้านความรู้
วงจรของการเห็นคุณค่าแห่งตน
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
ADDIE Model.
พัฒนาการเด็กปฐมวัย & โครงการพัฒนาIQ EQ เด็กแรกเกิด-5 ปี
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การสังเคราะห์ (synthesis)
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ Presentation of Ag. Info with Computer 24 Jun 2009

เนื้อหาของบทเรียน ทฤษฎีของการคิดอย่างเป็นระบบ การวิเคราะห์ข้อมูล การกำหนดและออกแบบระบบการนำเสนอข้อมูล ลักษณะของข้อมูลทางวิทยาศาสตร์การเกษตร การกำหนดและออกแบบการนำเสนอข้อมูลทางวิทยาศาสตร์การเกษตร

ทฤษฎีของการคิดอย่างเป็นระบบ

ไอคิว (IQ = Intelligence Quotient ) หมายถึง...ความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา เป็นความสามารถในการเรียนรู้ การจำ การคิดอย่างมีเหตุผล คิดวิเคราะห์ และการเชื่อมโยง แล้วสรุปเป็นความหมาย

อีคิว ( EQ = Emotional Quotient ) หมายถึง...ความฉลาดทางอารมณ์ เป็นความสามารถในการรู้จัก เข้าใจควบคุมอารมณ์ และปรับจิตใจ อารมณ์ของตนเองได้สอดคล้องกับวัย มีสัมพันธภาพที่ราบรื่น ประพฤติ ปฏิบัติตนอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมและมีความสุข

วินัย 5 ประการ ประกอบด้วย วินัยประการที่ 1 ความรอบรู้แห่งตน (Personal Mastery) วินัยประการที่ 2 แบบแผนความคิดอ่าน (Mental Models) วินัยประการที่ 3 วิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) วินัยประการที่ 4 การเรียนรู้ของทีม (Team Learning) วินัยประการที่ 5 การคิดอย่างเป็นระบบ (Systematic Thinking)

รูปแบบของการคิดเชิงระบบ

ทักษะในการคิดและวิเคราะห์เชิงระบบ ขี้สงสัย ชอบซักถาม หาข้อมูล ฝึกคิดอยู่เสมอ โดยการจำแนกแยกแยะ และสรุปตามความเข้าใจของตนเอง ขวนขวายหาความรู้ใหม่ ๆ อยู่เสมอ เพื่อให้มีวัตถุดิบทางความคิดมากพอที่จะใช้ในการสังเคราะห์สิ่งต่าง ๆ ชอบปรับปรุง เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เพื่อได้สิ่งที่มีค่าสูงสุด ฝึกใจให้เป็นกลาง ไม่มีอคติ

เทคนิคของการคิดเชิงระบบ ยอมรับตนเองและเปลี่ยนใจตนเองให้ได้ว่าตนคือส่วนประกอบที่สำคัญที่เชื่อมโยงกับสิ่งต่าง ๆ ฝึกการมองภาพรวมแทนสิ่งเล็กๆ แล้วค่อยมองย้อนกลับ เข้าใจธรรมชาติของระบบ และทุกสรรพสิ่งในโลกล้วนเป็นระบบสัมพันธ์กัน มองเห็นกระบวนการเปลี่ยนแปลง และปัจจัยต่างๆ ที่เอื้อต่อระบบ

เทคนิคของการคิดเชิงระบบ เปิดอิสระในเรื่องการคิด ไม่ตีกรอบ ครอบงำความคิดคนอื่น ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกคนเกิดแรงร่วมในการสร้างความสัมพันธ์ กรณีที่ทำงานเป็นกลุ่ม ให้ยึดหลักการเรียนรู้ในกลุ่ม/องค์กรเป็นส่วนประกอบหลัก โดยสร้างจุดหมายในอนาคตร่วมกัน (Shared Vision ) และฝึกการเรียนรู้ของทีม

องค์ประกอบในการกำหนด/ปรับการนำเสนอข้อมูล (สารสนเทศ) มี 2 ประเด็นสำคัญ คือ 1. การกำหนดเป้าหมายของการถ่ายทอด หรือเผยแพร่ข้อมูล (สารสนเทศ) 2. การกำหนดแนวทางในการปรับโครงสร้างลักษณะข้อมูล/เนื้อหาที่ผ่านกระบวนการสังเคราะห์แล้ว

การวิเคราะห์ข้อมูล กำหนดประเด็น/วัตถุประสงค์ พิจารณาประเด็น/วัตถุประสงค์ให้ชัดเจน สืบค้นและรวบรวมข้อมูล สกัดเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน

องค์ประกอบของเอกสารนำเสนอ ชื่อเรื่อง/โครงการ บทนำ:  อธิบายความเป็นมา หรือปัญหาและ ความสำคัญที่ต้องทำ วัตถุประสงค์: ระบุวัตถุประสงค์ของงานนำเสนอ (แผนการดำเนินงานและระยะเวลา)  ผลการศึกษา/ดำเนินงาน สรุปผลและข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิง

กรณีศึกษา เกษตรกับพลังงานทดแทน เกษตรกับความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย ภาวะโลกร้อนกับการเกษตรในอนาคต

การกำหนดและออกแบบระบบ การนำเสนอข้อมูล

ลักษณะของข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ การเกษตร

การกำหนดและออกแบบการนำเสนอ ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์การเกษตร