การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ Presentation of Ag. Info with Computer 24 Jun 2009
เนื้อหาของบทเรียน ทฤษฎีของการคิดอย่างเป็นระบบ การวิเคราะห์ข้อมูล การกำหนดและออกแบบระบบการนำเสนอข้อมูล ลักษณะของข้อมูลทางวิทยาศาสตร์การเกษตร การกำหนดและออกแบบการนำเสนอข้อมูลทางวิทยาศาสตร์การเกษตร
ทฤษฎีของการคิดอย่างเป็นระบบ
ไอคิว (IQ = Intelligence Quotient ) หมายถึง...ความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา เป็นความสามารถในการเรียนรู้ การจำ การคิดอย่างมีเหตุผล คิดวิเคราะห์ และการเชื่อมโยง แล้วสรุปเป็นความหมาย
อีคิว ( EQ = Emotional Quotient ) หมายถึง...ความฉลาดทางอารมณ์ เป็นความสามารถในการรู้จัก เข้าใจควบคุมอารมณ์ และปรับจิตใจ อารมณ์ของตนเองได้สอดคล้องกับวัย มีสัมพันธภาพที่ราบรื่น ประพฤติ ปฏิบัติตนอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมและมีความสุข
วินัย 5 ประการ ประกอบด้วย วินัยประการที่ 1 ความรอบรู้แห่งตน (Personal Mastery) วินัยประการที่ 2 แบบแผนความคิดอ่าน (Mental Models) วินัยประการที่ 3 วิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) วินัยประการที่ 4 การเรียนรู้ของทีม (Team Learning) วินัยประการที่ 5 การคิดอย่างเป็นระบบ (Systematic Thinking)
รูปแบบของการคิดเชิงระบบ
ทักษะในการคิดและวิเคราะห์เชิงระบบ ขี้สงสัย ชอบซักถาม หาข้อมูล ฝึกคิดอยู่เสมอ โดยการจำแนกแยกแยะ และสรุปตามความเข้าใจของตนเอง ขวนขวายหาความรู้ใหม่ ๆ อยู่เสมอ เพื่อให้มีวัตถุดิบทางความคิดมากพอที่จะใช้ในการสังเคราะห์สิ่งต่าง ๆ ชอบปรับปรุง เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เพื่อได้สิ่งที่มีค่าสูงสุด ฝึกใจให้เป็นกลาง ไม่มีอคติ
เทคนิคของการคิดเชิงระบบ ยอมรับตนเองและเปลี่ยนใจตนเองให้ได้ว่าตนคือส่วนประกอบที่สำคัญที่เชื่อมโยงกับสิ่งต่าง ๆ ฝึกการมองภาพรวมแทนสิ่งเล็กๆ แล้วค่อยมองย้อนกลับ เข้าใจธรรมชาติของระบบ และทุกสรรพสิ่งในโลกล้วนเป็นระบบสัมพันธ์กัน มองเห็นกระบวนการเปลี่ยนแปลง และปัจจัยต่างๆ ที่เอื้อต่อระบบ
เทคนิคของการคิดเชิงระบบ เปิดอิสระในเรื่องการคิด ไม่ตีกรอบ ครอบงำความคิดคนอื่น ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกคนเกิดแรงร่วมในการสร้างความสัมพันธ์ กรณีที่ทำงานเป็นกลุ่ม ให้ยึดหลักการเรียนรู้ในกลุ่ม/องค์กรเป็นส่วนประกอบหลัก โดยสร้างจุดหมายในอนาคตร่วมกัน (Shared Vision ) และฝึกการเรียนรู้ของทีม
องค์ประกอบในการกำหนด/ปรับการนำเสนอข้อมูล (สารสนเทศ) มี 2 ประเด็นสำคัญ คือ 1. การกำหนดเป้าหมายของการถ่ายทอด หรือเผยแพร่ข้อมูล (สารสนเทศ) 2. การกำหนดแนวทางในการปรับโครงสร้างลักษณะข้อมูล/เนื้อหาที่ผ่านกระบวนการสังเคราะห์แล้ว
การวิเคราะห์ข้อมูล กำหนดประเด็น/วัตถุประสงค์ พิจารณาประเด็น/วัตถุประสงค์ให้ชัดเจน สืบค้นและรวบรวมข้อมูล สกัดเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน
องค์ประกอบของเอกสารนำเสนอ ชื่อเรื่อง/โครงการ บทนำ: อธิบายความเป็นมา หรือปัญหาและ ความสำคัญที่ต้องทำ วัตถุประสงค์: ระบุวัตถุประสงค์ของงานนำเสนอ (แผนการดำเนินงานและระยะเวลา) ผลการศึกษา/ดำเนินงาน สรุปผลและข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิง
กรณีศึกษา เกษตรกับพลังงานทดแทน เกษตรกับความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย ภาวะโลกร้อนกับการเกษตรในอนาคต
การกำหนดและออกแบบระบบ การนำเสนอข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ การเกษตร
การกำหนดและออกแบบการนำเสนอ ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์การเกษตร