วัยเจริญพันธุ์และพฤติกรรมทางเพศ (Puberty & Sexual Behavior)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
Advertisements

หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
Physiology of Crop Production
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
Antinematodal Drugs (ยากำจัดพยาธิตัวกลม) 1. Piperazine
เรื่อง วัยรุ่น เสนอ คุณครู สุดารัตน์ นันทพานิช
ประชากร (Population) Gajaseni, 2001.
แบบของการเพิ่มประชากร
การเจริญเติบโตของมนุษย์
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
2.
BIO-ECOLOGY 2.
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
การขนส่งอสุจิสู่ Epididymis
ขบวนการสร้างตัวอสุจิ (Spermatogenesis)
การจัดระบบในร่างกาย.
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
การบริบาลผู้สูงอายุ (CARE FOR ELDERLY).
การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ???
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
หนอนพยาธิ (Helminth).
ผลงาน ความรู้ ความคิดของผู้เรียน ทักษะ การปฏิบัติ ของผู้เรียน คุณลักษณะ ค่านิยม คุณธรรม ของผู้เรียน.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
สิงโต ถิ่นกำเนิด    พบในทวีปอัฟริกา ในทีปเอเชียยังคงมีอยู่บ้างเช่นบางแห่งในประเทศ อินเดียแถบตะวันตก ลักษณะ    สิงโตอัฟริกา และสิงโตอินเดียไม่มีลักษณะที่แตกต่างกันไม่มีลายตามตัวอย่างเสือ.
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
สื่อกับ การรับรู้ของเด็ก
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
การเจริญเติบโตของร่างกาย
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
Data Collecting for Genetic Improvement in Pig and Chicken
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง
การสืบพันธุ์ของมนุษย์ เป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
การเจริญเติบโตของร่างกาย
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
การสืบพันธุ์และการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม. สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์  เพื่อ  1. ดำรงเผ่าพันธุ์  2. ถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด จากบรรพบุรุษไปสู่รุ่นต่อไป.
ความสมบูรณ์พันธุ์ของโคนม Fertility in Dairy Cattle
ประชุมสัมมนา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมปศุสัตว์สู่ Smart Officer
ทฤษฎีการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิเคราะห์Psychoanalysis
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
สื่อโทรทัศน์กับ การรับรู้ของเด็ก
Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต(Reproduction & Development)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัยเจริญพันธุ์และพฤติกรรมทางเพศ (Puberty & Sexual Behavior) เนื้อหา 1) ความหมาย 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพล 3) พฤติกรรมทางเพศ - เพศผู้ - เพศเมีย

Puberty ระยะหรืออายุที่สัตว์มีพัฒนาการด้านต่างๆ ทางสรีรวิทยา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการสร้างเซลล์สืบพันธุ์และแสดงพฤติกรรมด้านการสืบพันธุ์อย่างสมบูรณ์ ลำดับของพัฒนาการ Embryo Fetus Baby animal Young animal Mature animal

สิ่งที่พิจารณาในการเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ ลักษณะภายนอก การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและสรีรวิทยาภายใน 1) เพศผู้ Testis, Penis, Accessory gland, Endocrine gland 2) เพศเมีย Ovary, Mammary organ, Endocrine gland, Estrus cycle Secondary sex characteristics

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ 1) Genetics 2) Environment - Species - Breed - Sex 3) Management - Nutrition - Health status - Housing

อายุเมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ Male อายุ (เดือน) Female อายุ (เดือน) Bull 10-18 Heifer 8-18 Ram 8-12 Ewe 6-12 Boar 6-8 Gilt 5-8 Stallion 12-22 Filly 10-24 Dog 5-12 Bitch 7-15 Tomcat 6-10 Cat 7-15

Hormone & Puberty ชนิดของฮอร์โมน กลไกการทำงานของฮอร์โมน - Hypothalamic-hypophysial axis - Pituitary-ganad axis (Adenohypophyseal-gonad axis)

Female Sexual Behavior วงรอบการเป็นสัด (Estrus cycle) แบ่งได้หลายรูปแบบ ตามมุมมองหรือการพิจารณา 1) แบ่งตามการปรากฏในรอบปี 2) แบ่งตามพฤติกรรมการตกไข่ 3) แบ่งตามช่วงต่างๆ ในวงรอบการเป็นสัด

การแบ่งวงรอบการเป็นสัดที่ปรากฏในรอบปี 1) Seasonal monoestrus: กวาง roe สุนัขจิ้งจอก 2) Seasonal polyestrus: ม้า แพะ 3) Polyestrus: สุกร โค Primate การแบ่งตามพฤติกรรมการตกไข่ 1) Induce ovulators 2) Spontaneous ovulators

การแบ่งตามช่วงต่างๆ ของวงรอบการเป็นสัด 1) แบ่งตามสภาวะการควบคุมโดยเนื้อเยื่อที่สร้างฮอร์โมน: Follicular phase และ Luteal phase 2) แบ่งตามลักษณะที่ปรากฏในวงรอบการเป็นสัด โค แพะ แกะ สุกร 2.1) Proestrus 3-4 2-3 2-3 3-4 วัน 2.2) Estrus 12-18 30-40 24-36 48-72 ชม. 2.3) Metestrus 3-4 2-3 2-3 2-3 วัน 2.4) Diestrus 10-14 13-15 10-12 11-13 วัน 2.5) Anestrus

พฤติกรรมการเป็นสัด (heat) อยู่ภายใต้อิทธิพลของฮอร์โมน ระบบประสาท อายุ และฤดูกาล ลักษณะการแสดงออกของพฤติกรรม - ยอมรับการขึ้นทับ - การเสาะหาตัวผู้ - กินอาหารน้อยลง - มีเมือกไหลจากช่องคลอด - บริเวณส่วนนอกของช่องคลอดบวมแดง - ตื่นตกใจง่าย

Follicular wave

ลักษณะเฉพาะของพฤติกรรมการเป็นสัดของสัตว์แต่ละชนิด(1) สุกร : Polyestrus, estrus cycle 21 วัน 1) อวัยวะเพศบวมแดง (ชัดเจนใน Gilt) 2) ยอมรับการขึ้นทับของตัวอื่น 3) กดหลังจะยืนนิ่ง 4) มีเมือกเล็กน้อย 5) สนใจสิ่งแวดล้อมมากกว่าปกติ 6) ส่งเสียงร้อง

ลักษณะเฉพาะของพฤติกรรมการเป็นสัดของสัตว์แต่ละชนิด(2) โค : Polyestrus, estrus cycle 21 วัน 1) อวัยวะเพศบวมแดง ? 2) ยอมรับการขึ้นทับของตัวอื่น 3) กดหลังและสะโพกจะยืนนิ่ง 4) มีเมือกไหลในช่วงเวลานาน 5) ตื่นตกใจง่าย 6) ส่งเสียงร้อง

ฮอร์โมนที่ควบคุมวงรอบการเป็นสัด GnRH Gonadotropins Estrogen Progesterone PGF2 alpha (ดูภาพที่ 2)

อิทธิพลของระบบประสาทต่อพฤติกรรมทางเพศ 1) Visual 2) Olfactory 3) Auditory 4) Tactile

อิทธิพลของอายุที่มีต่อพฤติกรรมทางเพศ อายุที่สัตว์มีความสมบูรณ์พันธุ์สูงสุด - สุกร 3-4 ปี - โค 5-7 ปี - แพะ และแกะ 4-6 ปี ปรากฏการณ์ที่บ่งบอกการเสื่อมของความสมบูรณ์พันธุ์ - อัตราการตั้งท้องต่ำ - มีการตายของตัวอ่อนตลอดระยะตั้งท้องสูง

อิทธิพลของฤดูกาลที่มีต่อพฤติกรรมทางเพศ ปัจจัยเนื่องจากฤดูกาล - ช่วงแสง Retina Pineal gland Gonad Adenohypophysial Hypothalamus - ปริมาณและคุณภาพของอาหาร - การจำศีล

Male Sexual Behavior 1) การครอบครองดินแดน (Territorial and home range behavior) 2) ความก้าวร้าว (Aggressive) 3) พฤติกรรมการผสมพันธุ์ (Mating behavior)

ปัจจัยที่มีผลต่อการแสดงพฤติกรรมทางเพศ 1) ระบบประสาท - Visual - Olfactory - Auditory - Tactile 2) ระบบฮอร์โมน

ลำดับการแสดงพฤติกรรมทางเพศ 1. การหาคู่ผสมพันธุ์ 2. การตรวจสอบสภาวะของคู่ผสม 3. การยอมรับการผสมของเพศเมีย 4. การผสมพันธุ์

ระยะของผสมพันธุ์ - ระยะเกี้ยวพาราสีและเตรียมผสมพันธุ์ (Pre-copulation) รูปแบบ : 1) แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว 2) ริมฝีปากเผยอ (Flehmen reaction) 3) ส่งเสียงที่มีความดัง และความถี่เฉพาะ (ในสุกร และแพะ) 4) มีการยืดและแข็งตัวของ Penis 5) ขึ้นทับคู่ผสม

- ระยะผสมพันธุ์ (Copulation) รูปแบบ 1) Penis ยืดและแข็งตัวเต็มที่ จากขบวนการ blood accumulation 2) Courtship 3) Intromission โดยการทำงานของกล้ามเนื้อ Rectus abdominis, Carvernosous muscle, Retractor penile และ Sigmoid flexure

- ระยะเสร็จสิ้นการผสมพันธุ์ (Post-copulation) รูปแบบ 1) Ejaculation 2) Dismounting 3) Refractoriness

พฤติกรรมที่ผิดปกติทางเพศ (1) พฤติกรรมที่ผิดปกติทางเพศ (1) เพศเมีย 1. Nymphomania 2. Split estrus 3. Silent heat

พฤติกรรมที่ผิดปกติทางเพศ (2) พฤติกรรมที่ผิดปกติทางเพศ (2) เพศผู้ 1. Copulation แต่ไม่มี Ejaculation 2. Homosexual 3. Masturbation