คุณภาพเมล็ดพันธุ์ 1. ความงอก (germination) หรือความมีชีวิต (viability)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

เรื่อง การตอนกิ่งกลางอากาศ ชื่อต้นไม้ โกสน จัดทำโดย
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
ENVIRONMENTAL SCIENCE
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
แต่งบ้านให้สวย ด้วยสวนงาม
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
เอกสารเคมี Chemistry Literature
3. การตั้งตัวของวัชพืช (establishment of weeds)
Physiology of Crop Production
การออกดอกและการสร้างเมล็ดของวัชพืช
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
การสร้างพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม เพื่ออุตสาหกรรมการเกษตร
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
ปัญหาจากสภาพแวดล้อม 1. ประชากรล้น 2. ภาวะมลพิษ - ของเสียจากธรรมชาติ
การพักตัวของเมล็ด (Seed dormancy)
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
คำถามทบทวนวิชา
II. Post harvest loss of cereal crop
รักษ์โลก กับวิศวกรรมเคมี ตอนที่ 1
การสำรวจผีเสื้อกลางวัน
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การทำธุรกิจแบบยั่งยืน การตลาดแบบแม่ไก่อารมณ์ดี
โครงการธนาคารพันธุกรรมพืช 50 ปี แห่งการวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
วิธีเพาะเมล็ดไผ่ (สามารถใช้กับไผ่ได้ทุกชนิด)
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การบรรจุภัณฑ์เพื่อการส่งออก
การเลือกบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
ความสำคัญ ของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย โดย ดวงเดือน สมวัฒนศักดิ์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สสข.1 ชัยนาท.
ล้าง 3 ครั้ง ทุกหยดคุ้มค่า รักษาสิ่งแวดล้อม
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
การสืบพันธุ์ของพืช.
ตารางวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้จัดทำคำอธิบายรายวิชา
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
มาตรฐานสินค้าเกษตร “ลำไย”
(B2E Rice Bran Oil and Germ)
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
เครื่องมือ-วัสดุอุปกรณ์
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
จัดทำโดย นางสาวนูรีฮา อามะ
การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง
การเจริญเติบโตของพืช
เรื่อง การปลูกข้าว ผู้จัดทำ 1. นาย ศุภชัย บุญเทียน เลขที่ 21 ชั้น ม.6/4 2. นาย กฤษฎา จักษุสุวรรณ เลขที่ 33 ชั้น ม. 6/4.
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณภาพเมล็ดพันธุ์ 1. ความงอก (germination) หรือความมีชีวิต (viability) 2. ความแข็งแรง (vigor) 3. ความบริสุทธิ์ (purity) 4. ความชื้นเมล็ด (moisture content) 5. การเสื่อมสภาพของเมล็ดพันธุ์ (deterioration) 6. สี (color) 7. สุขภาพเมล็ดพันธุ์ (seed health)

สาเหตุคุณภาพแตกต่าง 1. การปลูกการดูแลรักษา 2. สภาพแวดล้อมขณะเมล็ดพัฒนา 1. การปลูกการดูแลรักษา 2. สภาพแวดล้อมขณะเมล็ดพัฒนา 3. อายุการเก็บเกี่ยว 4. วิธีการเก็บเกี่ยว 5. ความชื้นเมล็ด 6. การนวดและการกระเทาะ 7. การปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ 8. การใช้สารเคมี 9. การเก็บรักษา

ชั้นเมล็ดพันธุ์ 1. เมล็ดพันธุ์คัด (breeder seed) 2. เมล็ดพันธุ์หลัก (foundation seed) 3. เมล็ดพันธุ์ขยาย (registered seed) 4. เมล็ดพันธุ์จำหน่าย (certified seed)

ประเภทเมล็ดพันธุ์ จำแนกตามลักษณะพันธุกรรม 1. เมล็ดพันธุ์ผสมปล่อย (Open pollinated seed) 2. เมล็ดพันธุ์ลูกผสม (Hybrid seed)

ประเภทเมล็ดพันธุ์ลูกผสม 1. ลูกผสมเดี่ยว (Single cross) 2. ลูกผสมสามทาง (Three way cross) 3. ลูกผสมคู่ หรือ ลูกผสมสี่ทาง (Double cross) 4. ลูกผสมประยุกต์ (Modified cross)

ประเภทเมล็ดพันธุ์ลูกผสม 1. ลูกผสมเดี่ยว (Single cross) A B F1

ประเภทเมล็ดพันธุ์ลูกผสม 2. ลูกผสมสามทาง (Three way cross) A B C F1 F2

ประเภทเมล็ดพันธุ์ลูกผสม 3. ลูกผสมคู่ หรือ ลูกผสมสี่ทาง (Double cross) D A B C F1 F1 F2

ประเภทเมล็ดพันธุ์ลูกผสม 4. ลูกผสมประยุกต์ (Modified cross) สายพันธุ์แท้ X พันธุ์ผสมเปิด

ปัจจัยการเสื่อมสภาพ 1. ปัจจัยภายในเมล็ด ชนิดของเมล็ด พันธุกรรม 1. ปัจจัยภายในเมล็ด ชนิดของเมล็ด พันธุกรรม องค์ประกอบทางเคมีของเมล็ด

ปัจจัยการเสื่อมสภาพ 2. ปัจจัยภายนอก สภาพแวดล้อมขณะเมล็ดพัฒนา 2. ปัจจัยภายนอก สภาพแวดล้อมขณะเมล็ดพัฒนา (น้ำ ฝน ดิน แสง อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์) สภาพแวดล้อมขณะเก็บเกี่ยว (การเก็บเกี่ยว การตาก การนวด) สภาพแวดล้อมขณะเก็บรักษา (ความชื้น อุณหภูมิ ศัตรู ภาชนะ ระยะเวลา)