วิชาความรู้พื้นฐานทางช่าง (นิรภัยการช่าง) โดยน.ต.บุญเลิศ น้อยแรม ตำแหน่ง ครูวิชาช่างไอน้ำ ศูนย์พัฒนาอาชีพช่าง กศษ.กพช.อร.
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล อัตราอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่มีประจำหน่วยเป็นส่วนกลาง เพื่อจ่ายให้กับผู้ปฏิบัติงานได้ใช้เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากการปฏิบัติงานประจำวัน 10มีทั้งสิ้น 10 อุปกรณ์หลัก ซึ่งหน่วยควรจะตรวจสอบอัตราคงหน่วยความจำเป็นในการใช้งาน และควรดำเนินการให้มีไว้ใช้ประจำหน่วยเพื่อจ่ายให้กับผู้ปฏิบัติงาน เพื่อใช้ป้องกันอันตรายซึ่งอาจจะเกิดขึ้นได้จากการทำงาน อุปกรณ์ป้องกันอัตรายส่วนบุคคล 10 อุปกรณ์หลักมีลายละเอียดดังนี้
1อุปกรณ์ป้องกันดวงตา 1.1 แว่นป้องกัน 1.2 แว่นครอบป้องกันสารเคมี 1.3 แว่นครอบป้องกันฝุ่นชนิดหน้ากากหนัง 1.4 แว่นครอบสำหลับงานหลอมโลหะ 1.5 แว่นครอบสำหรับงานเชื่อม 2 อุปกรณ์ป้องกันใบหน้า 2.1 โล่พลาสติกป้องกันใบหน้า 2.2 หมวกครอบทำด้วยโลหะ
2.3 โล่บังหน้าชนิดมือถือ 2.4 หมวกครอบสำหรับงานเชื่อม 2.5 แว่นครอบสำหรับงานเชื่อม 2.6 หมวกครอบถึงคอป้องกันกรด 3 อุปกรณ์ป้องกันเท้าและขา 3.1 รองเท้าไร้โลหะ 3.2 รองเท้าหุ้มข้อ 3.3 รองเท้าเสริมพื้นด้วยโลหะ 3.4 รองเท้านิรภัยพร้อมครอบโลหะหลังเท้า
3.5 กระบังหุ้มขา 4 อุปกรณ์ป้องกันศีรษะ 4.1 หมวกนิรภัยสีขาว 4.2 หมวกนิรภัยสีฟ้า 4.3 หมวกนิรภัยสีน้ำเงิน 4.4 หมวกนิรภัยสีส้ม 4.5 หมวกนิรภัยสีเหลือง 4.6 หมวกนิรภัยสีแดง
5 อุปกรณ์ป้องกันหู 5.1 ปลั๊กอุดหู 5.2 ครอบหู 6 อุปกรณ์ป้องกันนิ้ว ฝ่ามือ และมือ 6.1 ถุงมือใยหิน 6.2 ถุงมือตาข่ายโลหะ 6.3 ถุงมือยาง 6.4 ถุงมือนิโอปริน และไวนิล 6.5 ถุงมือหนังต้านประกายไฟ
6.6 ถุงมือหนังโคฟอก 6.7 ถุงมือฝ้ายหรือผ้า 7 อุปกรณ์ป้องกันลำตัว 7.1 เสื้อกั๊ก 7.2 เสื้อคลุม , เสื้อคลุมป้องกันความร้อน 7.3 ปลอกแขนหนัง 8 อุปกรณ์ช่วยหายใจ 8.1 แบบใช้แผ่นกรองอากาศ 8.2 แบบครอบจมูก
------------------------------- 9 เข็มขัดนิรภัยและสายรัดลำตัว 9.1 ชนิดธรรมดา 9.2 ชนิดฉุกเฉิน 9.3 แบบสายรัดลำตัวทุกส่วน 10 ครีมป้องกัน 10.1 ครีมป้องกันใบหน้า ------------------------------- ด้วยความปารถนาดี จากแผนกนิรภัยการช่าง กจก.อร.