คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ
โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
กรอบการนำเสนอ ส่วนที่ 2 สรุปสาระสำคัญ ส่วนที่ 1 ภาพรวม PMQA
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ขอต้อนรับคณะผู้ตรวจประเมินฯ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รายงานการประเมินตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
หมวด2 9 คำถาม.
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
ตัวชี้วัดที่ 3.8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการในผลผลิตที่ 3 แรงงานที่ถูกเลิกจ้าง/ว่างงาน แรงงานใหม่ ผู้สูงอายุ ผู้พิการและแรงงานนอกระบบที่มีทักษะฝีมือในการประกอบอาชีพ.
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน.
นางณัฐชนัญ ศุภพิพัฒน์
การประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคล
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แผนแม่บทการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Road Map KM 2551.
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย
คำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
มิติผลการปฏิบัติงาน (Performance) คะแนน ร้อยละความสำเร็จของการจัดที่ดิน ร้อยละความสำเร็จของการจัดที่ดินทำกิน พื้นที่ X-ray การรังวัด.
1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯยุทธศาสตร์ วปภ. ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การยกระดับขีด ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการ.
1.1 ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของ จังหวัด 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายการกำ ดับดูแลองค์การที่ดีจังหวัดแพร่ 2) ปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการและการ.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดที่ 8 : ระดับความสำเร็จ ของการพัฒนาสมรรถนะ ของบุคลากรกรมอนามัย

คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร (IDP) เป็นการประเมินผลการปฏิบัติงานที่สะท้อนจาก การประเมินสมรรถนะ โดยใช้ค่าคะแนนจากการประเมิน สมรรถนะหลัก ตามแนวทางของ ก.พ. เนื่องจากสามารถ สะท้อนให้เห็นถึงระดับของสมรรถนะรายบุคลากรได้ ทุนมนุษย์ (Human Capital) หมายถึง ความรู้ ทักษะ และสมรรถนะ ที่มีความจำเป็นใน การปฏิบัติงาน การ เพิ่มทุนมนุษย์หรือการลงทุนให้ได้มา การสะสม การใช้ ประโยชน์ การพัฒนาศักยภาพ และการสร้างมูลค่าอย่าง ต่อเนื่อง จึงสามารถช่วยสร้างให้บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ รวมถึงแรงจูงใจและความจงรักภักดีต่อ องค์การ ซึ่งนำไปสู่การเพิ่มคุณค่าผลผลิตและการบริการ ที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้องค์การมีความสามารถสร้าง ความได้เปรียบในการดำเนินงานการพัฒนาทุนมนุษย์จึง ถือว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งต่อความสำเร็จขององค์การ

คำอธิบาย (ต่อ) สมรรถนะหลัก มี 5 เรื่อง คือ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ การบริการที่ดี การสั่งสมความเชี่ยวชาญในอาชีพ การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรมและการ ทำงานเป็นทีม กรมอนามัยได้เพิ่มสมรรถนะเฉพาะในการ ปฏิบัติงาน 1 เรื่อง คือ การบริหารการจัดการข้อมูลสารสนเทศ และความรู้ การจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร เป็นการวางแผน ในการพัฒนาบุคลากร ซึ่งมีกิจกรรมที่ต้องกำหนด ในการวางแผนพัฒนาบุคลากรอย่างชัดเจน เช่น หลักสูตร/ หัวข้อการพัฒนา วิธีการในการพัฒนาบุคลากรแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาในการดำเนินการ เป็นต้น โดยแผนพัฒนาบุคลากรที่จัดทำขึ้น ควรสอดคล้องกับ ทรัพยากรและความจำเป็นในการพัฒนาบุคลากรของ หน่วยงาน ทุกหน่วยงานต้องจัดทำคำรับรองฯ ตัวชี้วัดนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัดย่อย (i) / ประเด็นการประเมินผล น้ำหนัก (Wi)   เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละความสำเร็จตามเป้าหมายของตัวชี้วัด คะแนนที่ ได้ (SMi) คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (Wi x SMi) 20 40 60 80 100 1. ร้อยละของข้าราชการในหน่วยงาน ที่มีการจัดทำแผนพัฒนาความรู้/ทักษะ/สมรรถนะรายบุคคล (IDP) 0.10 65 70 75 85 SM1 (W1xSM1) 2. ร้อยละของข้าราชการในหน่วยงาน ได้รับการพัฒนาตามแผน SM2 (W2xSM2) 3. ร้อยละของข้าราชการในหน่วยงานได้รับการพัฒนาให้มีความรู้/ทักษะ/สมรรถนะ อย่างน้อย 10 วันต่อคนต่อปี (รายงานรอบ 12 เดือน) 0.20 90 95 SM3 (W3xSM3)

เกณฑ์การให้คะแนน (ต่อ) ตัวชี้วัดย่อย (i) / ประเด็นการประเมินผล น้ำหนัก (Wi)   เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละความสำเร็จตามเป้าหมายของตัวชี้วัด คะแนนที่ ได้ (SMi) คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (Wi x SMi) 20 40 60 80 100 ระยะเวลาการส่งงาน 4. หน่วยงานส่งแบบรายงานแผนพัฒนาความรู้/ทักษะ/สมรรถนะของข้าราชการ(IDP) ภายในวันที่... 0.15 18-22 เม.ย. 57 10-17 4-9 1-3 31 มี.ค. SM4 (W4xSM4) 4.1 หน่วยงานส่งแบบรายงานผล การพัฒนาความรู้/ทักษะ/สมรรถนะของข้าราชการ รอบ 6 เดือน ภายในวันที่... SM5 (W5xSM5)

เกณฑ์การให้คะแนน (ต่อ) ตัวชี้วัดย่อย (i) / ประเด็นการประเมินผล น้ำหนัก (Wi)   เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละความสำเร็จตามเป้าหมายของตัวชี้วัด คะแนนที่ ได้ (SMi) คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (Wi x SMi) 20 40 60 80 100 4.2 หน่วยงานส่งแบบรายงานผล การพัฒนาความรู้/ทักษะ/สมรรถนะของข้าราชการ รอบ 9 เดือน ภายในวันที่... 0.15 16-18 ก.ค. 57 9-15 4-8 1-3 30 มิ.ย. SM6 (W6xSM6) 4.3 หน่วยงานส่งแบบรายงานผล การพัฒนาความรู้/ทักษะ/สมรรถนะของข้าราชการ รอบ 12 เดือน ภายในวันที่... 14-16 ต.ค. 9-13 30 ก.ย. SM7 (W7xSM7) รวม 1.00 (WixSMi)

หลักฐานอ้างอิง เอกสารหมายเลข 1 : แผนพัฒนาความรู้/ทักษะ/สมรรถนะของข้าราชการรายบุคคล –IDP (รายงาน 31 มี.ค.57 ใน DOCรอบ 6 เดือน) เอกสารหมายเลข 2 : แบบรายงานแผนการพัฒนาความรู้/ทักษะ/สมรรถนะของข้าราชการรายบุคคล-IDP (หน่วยงานเก็บไว้ตรวจสอบ) เอกสารหมายเลข 3 : แบบสรุปรายงานผลการพัฒนาความรู้/ทักษะ/สมรรถนะ ของข้าราชการรายบุคคล-IDP (รายงานทุกรอบ 6 9 และ 12 เดือน) เอกสารหมายเลข 4 : แบบรายงานผลการพัฒนาความรู้/ทักษะ/สมรรถนะ ของข้าราชการรายบุคคล-IDP (รายงานทุกรอบ 6 9 และ 12 เดือน)

Thank You