แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

สถานการณ์โรคไข้เลือดออกอำเภอเมือง 1 ม.ค.-30 เม.ย.56.
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
สถานีอนามัยบ้านแมด ตำบลดงชน อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
สถานการณ์โรค เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดชัยภูมิ
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
สรุปผลการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
สรุปการประชุม เขต 10.
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ประจำเดือนตุลาคม 2550 Darunee Phosri :
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
ผลการดำเนินงาน ตค.50 – มค.51. รหัส ตัวชี้วัดเกณฑ์ผลการดำเนินงานจังหวัด เป้าหมาย(Y)ผลงาน (X)อัตร า (Z) 1001 ประชาชนที่มี หลักประกันสุขภาพ ได้รับบริการ.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
สรุปผลงานตามตัวชี้วัด ร้อยละ รพ.สต.ที่ดำเนินงาน คบส. ประจำปี 2555
ปี2554 หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน % มัธยฐาน ไมโครกรัมต่อลิตร สสจ. อุดรธานี ; 2554,2555 ผลการตรวจปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เพื่อหาภาวการณ์ขาดสารไอโอดีน.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด เอ (H1N1)
ระบาดวิทยาและ SRRT.
ไพรินทร์ บุตรแสนลี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
นางภัสธิยะกุล ชาวกะมุด นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
นโยบายงานควบคุมโรคเรื้อน
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การเร่งรัดควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี พ.ศ.2557
ระหว่างวันที่ พฤษภาคม 2550 ได้รับรายงานผู้ป่วยเฝ้า ระวังทางระบาดวิทยาที่สำคัญ ดังนี้ 1. โรคไข้เลือดออก จำนวน 24 ราย 2. โรคเลปโตสไปโรซีส จำนวน 2 ราย.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สาขาโรคมะเร็ง.
คำของบดำเนินงานโครงการ ประจำปีงบประมาณ 2559
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
รายงานสอบสวนโรคอุจจาระร่วง
คำขวัญจังหวัดอุดรธานี
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี

สถานการณ์โรคเรื้อนจังหวัดอุดรธานี ปีพ.ศ. 2555 สถานการณ์โรคเรื้อนจังหวัดอุดรธานี ปีพ.ศ. 2555 ( ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2555 ) เลย นายูง หนองคาย N สกลนคร สร้างคอม เพ็ญ บ้านดุง 2 น้ำโสม บ้านผือ ทุ่งฝน พิบูลย์รักษ์ พื้นที่ที่มีผู้ป่วย 5 อำเภอ กุดจับ เมือง 4 พื้นที่ไม่มีผู้ป่วย 15 อำเภอ 1 ม.ค. 55 – 30 มิ.ย. 55 จำนวนผู้ป่วยในทะเบียนรักษา 14 ราย - MB 14 ราย - PB 0 ราย หนองหาน หนองวัวซอ กู่แก้ว 2 ไชยวาน ประจักษ์ หนองแสง กุมภวาปี 4 วังสามหมอ 2 ศรีธาตุ หนองบัวลำภู โนนสะอาด กาฬสินธุ์ ขอนแก่น

สถานการณ์โรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี ย้อนหลัง 11 ปี สถานการณ์โรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี ย้อนหลัง 11 ปี ( พ.ศ. 2544 – 2554 ) อัตราชุกโรคเรื้อน ย้อนหลัง 11 ปี ( พ.ศ.2544-2554 )

อัตราการตรวจพบผู้ป่วยใหม่ย้อนหลัง 11 ปี อัตราการตรวจพบผู้ป่วยใหม่ย้อนหลัง 11 ปี ( พ.ศ.2544-2554 )

อัตราอุบัติการณ์ผู้ป่วยใหม่และสัดส่วนผู้ป่วยใหม่ MB ย้อนหลัง 11 ปี ( พ.ศ.2544 - 2554 )

เปรียบเทียบผู้ป่วยใหม่พิการระดับ 2 กับเกณฑ์ ย้อนหลัง 11 ปี ( พ.ศ.2544-2554 )

ตัวชี้วัดในการดำเนินงานโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี ตัวชี้วัดในการดำเนินงานโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี ลดอัตราความพิการระดับ 2 ในผู้ป่วยรายใหม่ต่อประชากร 100,000 คน ให้ได้ 50 % ในปี 2558 เมื่อเทียบกับปี 2553

จุดเน้นการดำเนินงานโรคเรื้อน จ.อุดรธานี ปี 2556 จุดเน้นการดำเนินงานโรคเรื้อน จ.อุดรธานี ปี 2556 การเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนในพื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยาและในผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน การสำรวจความพิการเพื่อการฟื้นฟูสภาพ

- เร่งรัดค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนในพื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาด จุดเน้นที่ 1: การเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อน ในพื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยา และในผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน อำเภอที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยาโรคเรื้อน ใช้ข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี (2550-2554) 1. พบผู้ป่วยใหม่ทุกปีติดต่อกัน 2. พบผู้ป่วยใหม่ที่เป็นเด็กปีใดปีหนึ่ง 3. พบผู้ป่วยใหม่ปีใดปีหนึ่ง โดยผู้ป่วยที่พบมียอดรวมตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป ( เมือง , หนองวัวซอ , กุมภวาปี , โนนสะอาด , วังสามหมอ ) กิจกรรม - เร่งรัดค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนในพื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาด - รณรงค์สร้างความตระหนักเรื่องโรคเรื้อนทั้งอำเภอ - สอบสวนโรคเมื่อพบผู้ป่วยใหม่ ( ตามแบบฟอร์ม )

จุดเน้นที่ 1: การเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อน ในพื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยา และในผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน หมู่บ้านที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยา หมู่บ้านที่มีผู้ป่วยใหม่เด็กในรอบ 5 ปี ( หนองวัวซอ , โนนสะอาด , วังสามหมอ , กุมภวาปี ) กิจกรรม สำรวจหมู่บ้านแบบเร็ว หมู่บ้านที่มีผู้ป่วยใหม่ในรอบ 5 ปี กิจกรรม สำรวจหมู่บ้านเพื่อคัดกรองผู้สัมผัสโรคเรื้อน โดยแกนนำหมู่บ้าน

- ผู้ป่วย PB ตรวจร่างกายปีละ 1-2 ครั้ง เป็นเวลา 3 ปี จุดเน้นที่ 1: การเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อน ในพื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยา และในผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน ผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน ตรวจผู้สัมผัสโรคร่วมบ้านทุกคน ของผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ปีละ 1 ครั้ง ต่อเนื่องเป็นเวลา 10 ปี ผู้ป่วยที่รับประทานยาครบ ( ระยะเฝ้าระวัง ) - ผู้ป่วย PB ตรวจร่างกายปีละ 1-2 ครั้ง เป็นเวลา 3 ปี - ผู้ป่วย MB ตรวจร่างกายปีละ 1-2 ครั้ง เป็นเวลา 5 ปี

จุดเน้นที่ 2: การสำรวจความพิการเพื่อการฟื้นฟูสภาพ ตรวจหาความพิการ ( ตา , มือ , เท้า ) คลำเส้นประสาท โต / เจ็บ ตรวจกำลังกล้ามเนื้อ ดี / อ่อน / เสีย ทดสอบความรู้สึก ชา หรือ ไม่ชา

เป้าหมายของการดำเนินงานสำรวจความพิการ ไม่มีความพิการเกิดขึ้นใหม่ ความพิการที่มีอยู่แล้ว คงที่ ไม่เลวลง ระดับความพิการลดลง

พื้นที่ที่ไม่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยาโรคเรื้อน หมายถึง พื้นที่ที่ยังมีผู้ป่วยโรคเรื้อนกำลัง รักษาหรือมีผู้ป่วยอยู่ในระยะเฝ้าระวัง กิจกรรม มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้โรคเรื้อน ( สัปดาห์ราชประชาสมาสัย ) ตรวจร่างกายผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน ตรวจผู้ป่วยโรคผิวหนังรายใหม่ที่มารับบริการ

NODE…..คืออะไร สถานบริการควบคุมโรคเรื้อนในสภาวะความชุกโรคต่ำ

ทำไมจึงต้องมี NODE ความชุกโรคต่ำ ความเชี่ยวชาญในการวินิจฉัยโรคลดลง จำนวนผู้ทำงานโรคเรื้อนลดลง

NODE…รพ.อุดรธานีกับความเป็นไปได้ ? ขนาดปัญหาโรคเรื้อนในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียง ( หนองคาย , หนองบัวลำภู , เลย , สกลนคร ) การสนับสนุนจากผู้บริหาร ทีมบุคลากรมีประสบการณ์ / เชี่ยวชาญโรคเรื้อน /การบริการทางการแพทย์ด้านต่าง ๆ

ขอบคุณค่ะ