แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
สถานการณ์โรคเรื้อนจังหวัดอุดรธานี ปีพ.ศ. 2555 สถานการณ์โรคเรื้อนจังหวัดอุดรธานี ปีพ.ศ. 2555 ( ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2555 ) เลย นายูง หนองคาย N สกลนคร สร้างคอม เพ็ญ บ้านดุง 2 น้ำโสม บ้านผือ ทุ่งฝน พิบูลย์รักษ์ พื้นที่ที่มีผู้ป่วย 5 อำเภอ กุดจับ เมือง 4 พื้นที่ไม่มีผู้ป่วย 15 อำเภอ 1 ม.ค. 55 – 30 มิ.ย. 55 จำนวนผู้ป่วยในทะเบียนรักษา 14 ราย - MB 14 ราย - PB 0 ราย หนองหาน หนองวัวซอ กู่แก้ว 2 ไชยวาน ประจักษ์ หนองแสง กุมภวาปี 4 วังสามหมอ 2 ศรีธาตุ หนองบัวลำภู โนนสะอาด กาฬสินธุ์ ขอนแก่น
สถานการณ์โรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี ย้อนหลัง 11 ปี สถานการณ์โรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี ย้อนหลัง 11 ปี ( พ.ศ. 2544 – 2554 ) อัตราชุกโรคเรื้อน ย้อนหลัง 11 ปี ( พ.ศ.2544-2554 )
อัตราการตรวจพบผู้ป่วยใหม่ย้อนหลัง 11 ปี อัตราการตรวจพบผู้ป่วยใหม่ย้อนหลัง 11 ปี ( พ.ศ.2544-2554 )
อัตราอุบัติการณ์ผู้ป่วยใหม่และสัดส่วนผู้ป่วยใหม่ MB ย้อนหลัง 11 ปี ( พ.ศ.2544 - 2554 )
เปรียบเทียบผู้ป่วยใหม่พิการระดับ 2 กับเกณฑ์ ย้อนหลัง 11 ปี ( พ.ศ.2544-2554 )
ตัวชี้วัดในการดำเนินงานโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี ตัวชี้วัดในการดำเนินงานโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี ลดอัตราความพิการระดับ 2 ในผู้ป่วยรายใหม่ต่อประชากร 100,000 คน ให้ได้ 50 % ในปี 2558 เมื่อเทียบกับปี 2553
จุดเน้นการดำเนินงานโรคเรื้อน จ.อุดรธานี ปี 2556 จุดเน้นการดำเนินงานโรคเรื้อน จ.อุดรธานี ปี 2556 การเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนในพื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยาและในผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน การสำรวจความพิการเพื่อการฟื้นฟูสภาพ
- เร่งรัดค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนในพื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาด จุดเน้นที่ 1: การเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อน ในพื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยา และในผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน อำเภอที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยาโรคเรื้อน ใช้ข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี (2550-2554) 1. พบผู้ป่วยใหม่ทุกปีติดต่อกัน 2. พบผู้ป่วยใหม่ที่เป็นเด็กปีใดปีหนึ่ง 3. พบผู้ป่วยใหม่ปีใดปีหนึ่ง โดยผู้ป่วยที่พบมียอดรวมตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป ( เมือง , หนองวัวซอ , กุมภวาปี , โนนสะอาด , วังสามหมอ ) กิจกรรม - เร่งรัดค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนในพื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาด - รณรงค์สร้างความตระหนักเรื่องโรคเรื้อนทั้งอำเภอ - สอบสวนโรคเมื่อพบผู้ป่วยใหม่ ( ตามแบบฟอร์ม )
จุดเน้นที่ 1: การเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อน ในพื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยา และในผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน หมู่บ้านที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยา หมู่บ้านที่มีผู้ป่วยใหม่เด็กในรอบ 5 ปี ( หนองวัวซอ , โนนสะอาด , วังสามหมอ , กุมภวาปี ) กิจกรรม สำรวจหมู่บ้านแบบเร็ว หมู่บ้านที่มีผู้ป่วยใหม่ในรอบ 5 ปี กิจกรรม สำรวจหมู่บ้านเพื่อคัดกรองผู้สัมผัสโรคเรื้อน โดยแกนนำหมู่บ้าน
- ผู้ป่วย PB ตรวจร่างกายปีละ 1-2 ครั้ง เป็นเวลา 3 ปี จุดเน้นที่ 1: การเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อน ในพื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยา และในผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน ผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน ตรวจผู้สัมผัสโรคร่วมบ้านทุกคน ของผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ปีละ 1 ครั้ง ต่อเนื่องเป็นเวลา 10 ปี ผู้ป่วยที่รับประทานยาครบ ( ระยะเฝ้าระวัง ) - ผู้ป่วย PB ตรวจร่างกายปีละ 1-2 ครั้ง เป็นเวลา 3 ปี - ผู้ป่วย MB ตรวจร่างกายปีละ 1-2 ครั้ง เป็นเวลา 5 ปี
จุดเน้นที่ 2: การสำรวจความพิการเพื่อการฟื้นฟูสภาพ ตรวจหาความพิการ ( ตา , มือ , เท้า ) คลำเส้นประสาท โต / เจ็บ ตรวจกำลังกล้ามเนื้อ ดี / อ่อน / เสีย ทดสอบความรู้สึก ชา หรือ ไม่ชา
เป้าหมายของการดำเนินงานสำรวจความพิการ ไม่มีความพิการเกิดขึ้นใหม่ ความพิการที่มีอยู่แล้ว คงที่ ไม่เลวลง ระดับความพิการลดลง
พื้นที่ที่ไม่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยาโรคเรื้อน หมายถึง พื้นที่ที่ยังมีผู้ป่วยโรคเรื้อนกำลัง รักษาหรือมีผู้ป่วยอยู่ในระยะเฝ้าระวัง กิจกรรม มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้โรคเรื้อน ( สัปดาห์ราชประชาสมาสัย ) ตรวจร่างกายผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน ตรวจผู้ป่วยโรคผิวหนังรายใหม่ที่มารับบริการ
NODE…..คืออะไร สถานบริการควบคุมโรคเรื้อนในสภาวะความชุกโรคต่ำ
ทำไมจึงต้องมี NODE ความชุกโรคต่ำ ความเชี่ยวชาญในการวินิจฉัยโรคลดลง จำนวนผู้ทำงานโรคเรื้อนลดลง
NODE…รพ.อุดรธานีกับความเป็นไปได้ ? ขนาดปัญหาโรคเรื้อนในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียง ( หนองคาย , หนองบัวลำภู , เลย , สกลนคร ) การสนับสนุนจากผู้บริหาร ทีมบุคลากรมีประสบการณ์ / เชี่ยวชาญโรคเรื้อน /การบริการทางการแพทย์ด้านต่าง ๆ
ขอบคุณค่ะ