ระดับความสำเร็จของ การควบคุมภายใน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

แนวทางการจัดทำรายงานประเมินผลการควบคุมภายใน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
กระบวนการจัดส่งรายงานการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง
โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี
หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์ และพัฒนาองค์กร
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
สรุป การประเมินผลการควบคุมภายใน
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
หมวด2 9 คำถาม.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
แนวทางการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ฉบับบูรณาการ กรมอนามัย และ กรมควบคุมโรค (HPH PLUS) ปีงบประมาณ 2552 ภายใต้ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ระดับหน่วยงาน แบบ ปย.1 แบบ ปอ.1 แบบ ปส. แบบ ปย.2 แบบ ปอ.2 แบบ ปอ.3
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
สรุปผลการประเมินผลการควบคุมภายใน
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การประเมินผลการควบคุมภายใน
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
การประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด ประจำปี 2556
1 3.3 ร้อยละของผลการ ปฏิบัติงานตามแผน กลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาด ฯ ความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง 4.3 ร้อยละของความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง คุณธรรมและ จริยธรรมแก่บุคลากร.
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กระบวนงาน การฝึกอบรม ประชุม สัมมนา.
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง อำนาจหน้าที่ 1. ตรวจราชการ ประสานงาน เร่งรัด ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ.
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระดับความสำเร็จของ การควบคุมภายใน มิติที่ 3 ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จของการควบคุมภายใน ตัวชี้วัดที่ 8.3 ระดับความสำเร็จของ การควบคุมภายใน โดย สำนักงาน ก.พ.ร.

ตัวชี้วัดที่ 8.3 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน มิติที่ 3 ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จของการควบคุมภายใน ตัวชี้วัดที่ 8.3 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน คำอธิบาย การควบคุมภายใน หมายความว่า กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหารและบุคลากรของหน่วยรับตรวจจัดให้มีขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานของหน่วยรับตรวจจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดำเนินงาน ซึ่งรวมถึงการดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกันหรือลดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลือง หรือการทุจริตในหน่วยรับตรวจ ด้านความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงิน และด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรี ความสำเร็จของการควบคุมภายในภาคราชการ จะพิจารณาจากความสามารถของหน่วยงานในการควบคุมภายในตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 (ข้อ 6) และแนวทางการจัดวางระบบการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายในของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินที่ได้กำหนดไว้

ตัวชี้วัดที่ 8.3 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน มิติที่ 3 ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จของการควบคุมภายใน ตัวชี้วัดที่ 8.3 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน เหตุผล เพื่อเป็นเครื่องมือที่ผู้บริหารนำมาใช้เพื่อให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานจะบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด เพื่อเป็นข้อมูลที่ช่วยสนับสนุนและเป็นประโยชน์อย่างมากแก่ผู้บริหารของหน่วยราชการในการบริหารงานและประกอบการตัดสินใจเพื่อการพัฒนาและปรับปรุงการดำเนินงานภายในหน่วยงานให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้ผู้บริหารของหน่วยราชการให้ความสำคัญกับการควบคุมภายใน

เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัดที่ 8.3 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน มิติที่ 3 ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จของการควบคุมภายใน ตัวชี้วัดที่ 8.3 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน เกณฑ์การให้คะแนน พิจารณาจาก 2 ส่วน คือ ส่วนที่ น้ำหนัก เกฑณ์การพิจารณา ส่วนที่ 1 1 มีการประเมินการควบคุมภายในของส่วนราชการประจำจังหวัด คิดเป็นร้อยละ 100 ส่วนที่ 2 มีระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐานการควบคุมภายในที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกำหนด (ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 (ข้อ 6))

เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนที่ 1 มิติที่ 3 ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จของการควบคุมภายใน ตัวชี้วัดที่ 8.3 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนที่ 1 น้ำหนัก 1 มีการประเมินการควบคุมภายในของส่วนราชการประจำจังหวัด คิดเป็นร้อยละ 100 สูตรการคำนวณ เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 60 70 80 90 100 จำนวนส่วนราชการประจำจังหวัด ที่จัดส่งรายงานการควบคุมภายใน x 100 จำนวนส่วนราชการประจำจังหวัด ทั้งหมด ส่วนราชการประจำจังหวัด หมายถึง ส่วนราชการประจำจังหวัดของราชการบริหารส่วนภูมิภาค เช่น สำนักงานจังหวัด สำนักงานคลังจังหวัด และสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด เป็นต้น

เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนที่ 2 มิติที่ 3 ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จของการควบคุมภายใน ตัวชี้วัดที่ 8.3 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนที่ 2 น้ำหนัก 1 กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ โดยพิจารณาว่าทุกส่วนราชการประจำจังหวัดได้มีระบบการควบคุมภายในเป็นไปตามมาตรฐานการควบคุมภายในที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกำหนด (ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 (ข้อ 6)) ดังนี้ ขั้นตอน คะแนนเต็ม ระดับที่ 1 1.00 คะแนน ระดับที่ 2 ระดับที่ 3 ระดับที่ 4 ระดับที่ 5 รวม 5.00 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนที่ 2 มิติที่ 3 ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จของการควบคุมภายใน ตัวชี้วัดที่ 8.3 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน 1 เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนที่ 2 ระดับคะแนน ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1 ส่วนราชการประจำจังหวัดมีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนเกี่ยวกับการดำเนินการประเมินผลควบคุมภายในตามระเบียบฯ พร้อมระบุถึงบทบาท ความรับผิดชอบในการจัดวางระบบการควบคุมภายในและการติดตามการควบคุมภายใน แนวทางการประเมินผล ประเมินจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่าง ๆ ดังนี้ คำสั่งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ หรือหนังสือมอบหมายผู้รับผิดชอบ

เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนที่ 2 มิติที่ 3 ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จของการควบคุมภายใน ตัวชี้วัดที่ 8.3 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน 2 เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนที่ 2 ระดับคะแนน ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1 มีกลไกการดำเนินการตามแผนการปรับปรุงระบบการควบคุมภายในของปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แนวทางการประเมินผล ประเมินจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่าง ๆ ดังนี้ ส่วนราชการประจำจังหวัดมีเอกสารหลักฐานที่แสดงถึงกระบวนการในการติดตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนย่อยดังนี้ หมายเหตุ เอกสารหลักฐานของส่วนราชการประจำจังหวัดที่แสดงถึงกระบวนการในการติดตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 (0.50 คะแนน) เอกสารหลักฐานในขั้นตอนนี้ให้จัดส่งภายในวันที่ 30 เมษายน 2553 รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการปรับปรุงที่นำเสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการเพื่อสั่งการ และรายงานต่อคณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัดได้ภายในวันที่ 30 เมษายน 2553 (0.50 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนที่ 2 มิติที่ 3 ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จของการควบคุมภายใน ตัวชี้วัดที่ 8.3 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน 3 เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนที่ 2 ระดับคะแนน ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1 ส่วนราชการประจำจังหวัดมีรายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายในครบทั้ง 5 องค์ประกอบ (แบบ ปอ.2) สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แนวทางการประเมินผล ประเมินจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่าง ๆ ดังนี้ รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายในของส่วนราชการประจำจังหวัด(แบบ ปอ. 2)

เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนที่ 2 มิติที่ 3 ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จของการควบคุมภายใน ตัวชี้วัดที่ 8.3 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน 4 เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนที่ 2 ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1 ระดับคะแนน ส่วนราชการประจำจังหวัดมีการประเมินกระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม เพื่อจัดทำรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปอ. 3) สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แนวทางการประเมินผล ประเมินจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่าง ๆ ดังนี้ รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของส่วนราชการประจำจังหวัด (แบบ ปอ. 3)

เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนที่ 2 มิติที่ 3 ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จของการควบคุมภายใน ตัวชี้วัดที่ 8.3 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน 5 เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนที่ 2 ระดับคะแนน ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1 พิจารณาผลการประเมินที่ได้จากขั้นตอนที่ 3 และ 4 เพื่อจัดทำหนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายในของส่วนราชการประจำจังหวัด (แบบ ปอ.1) สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ทั้งนี้ การประเมินผลการควบคุมภายในดังกล่าวต้องได้รับการประเมินผลจากผู้ตรวจสอบภายใน (แบบ ปส.) และมีการรายงานต่อคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้กำกับดูแล และคณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัด ภายในเก้าสิบวันนับจากวันสิ้นปีงบประมาณ (30 ธันวาคม 2553) แนวทางการประเมินผล ประเมินจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่าง ๆ โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนย่อยดังนี้ หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.1) (0.33 คะแนน) หมายเหตุ เอกสารหลักฐานในขั้นตอนนี้ให้จัดส่งภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2553 รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน (แบบ ปส.) (0.33 คะแนน) ส่งแบบ ปอ.1 ปอ.2 ปอ.3 และ ปส. ต่อคณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัด ภายในเก้าสิบวันนับจากวันสิ้นปีงบประมาณ (30 ธันวาคม 2553) สำหรับการรายงานต่อคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ให้รายงานเฉพาะ แบบ ปอ.1 เพียงฉบับเดียวเท่านั้น (0.34 คะแนน)

ตัวชี้วัดที่8.3 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน มิติที่ 3 ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จของการควบคุมภายใน ตัวชี้วัดที่8.3 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน หน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก : สำนักงาน ก.พ.ร. ชื่อผู้รับผิดชอบ เบอร์โทรศัพท์ 1. นางสาวกนกอร จิระนภารัตน์ 0 2356 9999 ต่อ 8937 2. นายพูนลาภ แก้วแจ่มศรี 0 2356 9999 ต่อ 8862 3. นางสาวเพ็ญนภา ปานชื่น 0 2356 9999 ต่อ 8868 4. นางวาสนา จัตุพร 0 2356 9999 ต่อ 8931 5. นายอภิศักดิ์ หัตถะแสน 0 2356 9999 ต่อ 8816 6. นางสาวปณิตา ปิยะพุทธิชัย 0 2356 9999 ต่อ 8838 7. นางสาวอารีวรรณ ขจรวานิชไพบูลย์ 0 2231 3011 ต่อ 327

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป ระดับคะแนนที่ 3 ชื่อหน่วยรับตรวจ รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ณ วันที่..........เดือน.....................พ.ศ............ แบบ ปอ.2 เป็นการรวบรวม ปย.1 ของ ส่วนงานย่อย และการประเมิน เพิ่มเติม ของฝ่าย บริหาร องค์ประกอบของ การควบคุมภายใน (1) ผลการประเมิน/ข้อสรุป (2) 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม จากตัวอย่างภาคผนวก ก หน้า 85-96 (หนังสือแนวทางเล่มเหลือง) 2. การประเมินความเสี่ยง 3.กิจกรรมการควบคุม 4.สารสนเทศและการสื่อสาร 5.การติดตามประเมินผล

ระดับคะแนนที่ 4 ปอ.3 กระบวนการปฏิบัติงานและวัตถุประสงค์การควบคุม(1) ชื่อหน่วยรับตรวจ รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่..........เดือน.....................พ.ศ............ กระบวนการปฏิบัติงานและวัตถุประสงค์การควบคุม(1) ความเสี่ยง ที่มีอยู่ (2) งวด/เวลาที่พบจุดอ่อน (3) การปรับปรุงการควบคุม (4) กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ (5) หมายเหตุ (6)

หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน ระดับคะแนนที่ 5 ปอ.1 หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน วรรคที่ 1 (ชื่อหน่วยรับตรวจ) ได้ประเมินผลการควบคุมภายในสำหรับปีสิ้นสุดวันที่............เดือน................พ.ศ. .............ด้วยวิธีการที่ (ชื่อหน่วยรับตรวจ)กำหนดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดำเนินงานและการใช้ทรัพยากร ซึ่งรวมถึงการดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกันหรือลดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลือง หรือการทุจริตด้านความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินและการดำเนินงานและด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรีและนโยบาย ซึ่งรวมถึงระเบียบปฏิบัติของฝ่ายบริหาร

วรรคที่ 2 จากผลการประเมินดังกล่าวเห็นว่าการควบคุมภายในของ (ชื่อหน่วยรับตรวจ) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่............เดือน................พ.ศ. .............เป็นไปตามระบบการควบคุมภายในที่กำหนดไว้ มีความเพียงพอและบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในตามที่กล่าวในวรรคแรก วรรคที่ 3 อนึ่ง การควบคุมภายในยังคงมีจุดอ่อนที่มีนัยสำคัญดังนี้ 1………………………………………………. 2……………………………………………….

ระดับคะแนนที่ 5 ปส. รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน (กรณีไม่มีข้อตรวจพบหรือข้อสังเกต) เรียน (หัวหน้าหน่วยรับตรวจ / ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยรับตรวจ) ข้าพเจ้าได้สอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของ....(ชื่อหน่วยรับตรวจ)สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ ......เดือน.............พ.ศ..........การสอบทานได้ปฏิบัติอย่างสมเหตุสมผลและระมัดระวังอย่างรอบคอบ ผลการสอบทานพบว่าการประเมินผลการควบคุมภายในเป็นไปตามวิธีการที่กำหนด ระบบการควบคุมภายในมีความเพียงพอและสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน อย่างไรก็ตามมีข้อสังเกตที่มีนัยสำคัญดังนี้................................................................. ......................................................................................................................................................... ชื่อผู้รายงาน........................................................ (ชื่อหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน) ตำแหน่ง............................................................... วันที่................ เดือน..................พ.ศ. .................

ขอบคุณค่ะ Q A &