ปัญหาเกี่ยวกับการสอบข้อเท็จจริง ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ และ กรณีบุคคลภายนอกกระทำละเมิด ต่อหน่วยงานของรัฐ
ประกาศกระทรวงการคลัง ลงวันที่ 10 พฤษภาคม 2548 กรณีที่ไม่ต้องส่งสำนวนการสอบสวน ไปให้กระทรวงการคลังตรวจสอบ ตามระเบียบข้อ 17 วรรคสอง
1. ความเสียหายเกิดจาก การทุจริต/เงินขาด บัญชี/การไม่ปฏิบัติตาม กฎหมาย กฎ ระเบียบ มติ ครม. และข้อบังคับต่างๆ - กรณีทุจริต ได้พิจารณาให้ผู้ทุจริตชดใช้ เต็มจำนวน และให้ผู้เกี่ยวข้องชดใช้เต็ม จำนวน - กรณีเงินขาดบัญชี/การไม่ปฏิบัติตาม กฎหมาย กฎ ระเบียบ มติ ครม. ข้อบังคับ และมิได้เกิดจากการทุจริต ได้พิจารณาให้ผู้จงใจ/ประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรง ชดใช้เต็มจำนวน
2. ความเสียหายเกิดจากสาเหตุทั่วไป (ไม่ใช่ กรณีตาม 1.) เช่น อุบัติเหตุ เพลิงไหม้ ทรัพย์สินเสียหาย/สูญหาย - ค่าเสียหายครั้งละไม่เกิน 500,000 บาท - กรณีที่เกิน 500,000 บาท และได้ พิจารณาให้ผู้ต้องรับผิดชดใช้ตั้งแต่ ร้อยละ 75 ของค่าเสียหายทั้งหมด
ปัญหาเกี่ยวกับการสอบข้อเท็จจริงฯที่พบบ่อย 1. ไม่มีหลักฐานตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0526.2/ว 48 ลว. 16 มีค 48 - หลักฐานการขอใช้รถยนต์ - หลักฐานการอนุมัติไปราชการ - ภาพถ่ายสถานที่เกิดเหตุ - บันทึกประจำวัน - ผลการสอบสวนของพนักงาน สอบสวน
2. ไม่สรุปข้อเท็จจริงจากการสอบสวนไว้ในรายงานฯ และรายงานสั้นมาก เพียง 1-2 หน้า 3. ไม่ระบุจำนวนค่าเสียหายไว้ในรายงานฯ 4. การคำนวณค่าเสื่อมราคา ไม่คิดตามหลักเกณฑ์ ตามหนังสือ กค 0507.2/ว81 ลว.27 ส.ค.45 แต่ไปคิดจากเกณฑ์บัญชีคงค้าง เหลือ 1 บาท 5. กรณีเป็นเหตุสุดวิสัย ให้วินิจฉัยว่า จนท.ของรัฐ มิได้กระทำละเมิด จึงไม่ต้องรับผิด ไม่ต้อง วินิจฉัยว่า “จนท.มิได้จงใจ หรือ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง”
6. ให้โอกาส จนท.ผู้เกี่ยวข้อง/ผู้เสียหาย ชี้แจงโต้แย้ง (ระเบียบข้อ 15 ) 7. รถยนต์เสียหาย แจ้งความ 8. คิดดอกเบี้ยละเมิด ว 105 ลว 24 ตุลาคม 2545
9. กรณีที่มีบุคคลภายนอกด้วย - วินิจฉัยความรับผิด เฉพาะแต่ จนท.ของรัฐ เท่านั้น โดยไม่วินิจฉัยว่าบุคคลภายนอก กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ หรือไม่ - ไม่ระบุชื่อบุคคลภายนอก หรือนายจ้าง (ถ้ามี) ที่กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐไว้ใน รายงานการสอบสวน (แนบแต่ ปจว.คดี) - ไม่รีบเรียกค่าเสียหาย และไม่รีบส่งฟ้อง บุคคลภายนอกให้รับผิดทางแพ่ง ภายในอายุความ 1 ปี
คำสั่งเรียกให้ชดค่าสินไหมทดแทน 1. คำสั่ง สป.1503/2548 ลว.7 ก.ค.2548 2. พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดฯ ม.12 3. ระเบียบ สร.ว่าด้วยหลักเกณฑ์ฯ ข้อ 17-18 4. พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 (1) ม.36 ม.37 รูปแบบคำสั่ง - ว.ด.ป./ ตำแหน่ง/ ลายมือชื่อ จนท. - ข้อเท็จจริง/ข้อกฎหมาย/ข้อพิจารณา และข้อสนับสนุนในการใช้ดุลพินิจ (2) ม.40 ให้แจ้งสิทธิอุทธรณ์ (3) ม.44 ให้อุทธรณ์ต่อ จนท.ผู้ออกคำสั่ง ภายใน 15 วัน
์ (5) ม.45 ระยะเวลาพิจารณาอุทธรณ์ ์ (5) ม.45 ระยะเวลาพิจารณาอุทธรณ์ (6) ม.45 ว.3 ผู้พิจารณาอุทธรณ์ระดับสูง ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2540) - คำสั่งอธิบดี--> ปลัดฯ พิจารณาอุทธรณ์ - ปลัดฯ --> รมว.สธ.พิจารณาอุทธรณ์ - ผวจ.(รับมอบจาก ปลัดฯ)--> “----” (7) ม.56 อำนาจพิจารณาใช้มาตรการบังคับฯ (8) ม.57-มีหนังสือแจ้งเตือนให้ชำระในกำหนด เวลา โดยไม่น้อยกว่า 7 วัน -การใช้มาตการบังคับทางปกครอง โดย ยึด/อายัด ทรัพย์สินขายทอดตลาด
คำสั่งของศาลปกครองสูงสุดที่น่าสนใจ ที่ 130/2545 รับสภาพหนี้แล้วก็ฟ้องเพิกถอน คำสั่งเรียกชดใช้ ได้ ที่ 565/2546 ละเมิดในหน้าที่/นอกหน้าที่ เป็นคำสั่งทางปกครอง ที่ 157/2546 เกษียรแล้ว ออกคำสั่ง/ม.57 ได้ ที่ 416/2546 ตายแล้ว ใช้ ม.57 ไม่ได้ ที่ 154/2547 ทุจริตไล่ออกแล้ว ใช้ ม.57 ได้ ที่ 618/2547 ระยะเวลาเรียกร้องและใช้ ม.57 ที่ 687/2547 ไล่ออก-ลาออกแล้ว ใช้ ม.57 ได้ ที่ 21/2548 ฟ้อง จนท.ไม่ได้ ให้ฟ้องหน่วยงาน
สุรชัย รัตนกรกุล นิติกร 7 กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม เสมอ กาฬภักดี นิติกร 7 สุรชัย รัตนกรกุล นิติกร 7 กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข อ.เมืองฯ จ.นนทบุรี 11000 โทร 02-5902492,5901314 มือถือ เสมอ 06- 5162295 สุรชัย 01- 8011932