Clouds & Radiation.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
Advertisements

C L O U D Mahidol Wittayanusorn School By M 5 / 1 0
จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
รุ้งพิเศษสำหรับท่าน เมฆมีขอบเป็นสีน้ำเงินทั้งนั้น และแต่ละวันที่
Rayleigh Scattering.
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระวิชา คณิตศาสตร์ วันและสัปดาห์
เรื่อง นาฬิกา นาฬิกาข้อมือ นาฬิกาแขวน นาฬิกาปลุก นาฬิกาจับเวลา
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
(Structure of the Earth)
งบดุลความร้อนของมหาสมุทร (Heat Budget of the Ocean)
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ระบบสุริยะ (Solar System).
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Ultrasonic sensor.
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
หมอก  หมอก (Fog) หมายถึงเมฆที่เกิดใกล้พื้นดิน หรือหมายถึง ไอน้ำซึ่งได้กลั่นตัวจนเป็นเม็ดละอองน้ำที่เห็นได้ด้วยตา เล็กละเอียดและเบาล่องลอยอยู่ในอากาศ การเกิดหมอก.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
คำชี้แจง สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
กลไกการปรับสมดุลโลก แผ่นที่ 1/6 พื้นสีเข้มดูดกลืน รังสีได้ดีกว่า.
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
กาแล็กซีและเอกภพ.
พลอยประจำวันเกิด จัดทำโดย นางสาวรุ่งนภา ลายทอง คณะวิทยาศาสตร์
Adjectives คำคุณศัพท์.
Deep Low & Tropical Storm. Deep Low & Tropical Storm ( ต่อ )
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
ดวงจันทร์ (Moon).
เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
วิทยาศาสตร์ Next.
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
ดาวเสาร์ (Saturn).
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของ โลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
โจฮานเนส เคปเลอร์ (Johannes Kepler) กฏข้อที่ 1: ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี โดยมี ดวงอาทิตย์อยู่ที่โฟกัสจุดหนึ่ง กฏข้อที่ 2: เส้นตรงที่โยงระหว่างดาวเคราะห์กับดวงอาทิตย์
The Colors of Friends เพื่อนสีรุ้ง Friends come in many colors.
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ระบบสุริยะ จักรวาล.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
โลกและสัณฐานของโลก.
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Clouds & Radiation

ดวงดาวในระบบสุริยะ จากในสุด ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต ดวงดาวในระบบสุริยะ

แกนหมุนของดาวต่างๆในระบบสุริยะ

ลักษณะต่างๆของเมฆ ปริมาณเมฆ ให้กำหนดเส้นทแยงยาว 28 กิโลเมตร แล้วนับเมฆที่มีขนาดเส้นทแยงยาว 5 กิโลเมตร จำนวนก้อนเมฆไม่พื้นที่จะเรียกว่าเมฆน้อย แต่ถ้าเต็มเรียกว่าเมฆมาก เมฆที่อุ่นกว่า 260 K จะเป็นเมฆที่เปียกและเป็นเม็ดขนาด 10 microns แล้วเมฆที่เย็นกว่าจะเป็นเมฆน้ำแข็ง ลักษณะเป็น crystals ขนาด 30 microns

วงจรชีวิตของเมฆ

Balloon ถูกปล่อย ไปชั้นเมฆ โดยบรรจุ digital camera และ xerogel micrometeorite collector

ชั้นบรรยากาศของโลก

Reflect 100

Reflect 50

ขนาด(um)และprofile BACKSCATTER ที่ระดับความสูงต่างๆ

ALBEDO = การสะกลับของรังสีอาทิตย์สู่อวกาศ

Short wave & Long wave Radiation รังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ส่วนมากจะถูกเมฆสะท้อนกลับออกไปเรียกว่า ”cloud albedo” รังสีคลื่นยาวที่ออกจากโลกถูกซับโดยเมฆและสะท้อนกลับ บางส่วนทะลุผ่านก้อนเมฆออกไปเรียกว่า ”cloud greenhouse forcing”

High Clouds เมฆที่อยู่สูงส่วนมากจะเป็นน้ำเข็ง จะซับรังสีที่มาจากโลกและสะท้อนกลับบางส่วน ปล่อยรังสีคลื่นยาวออกไป

Low Clouds เมฆที่อยู่ต่ำจะหนากว่าเมฆที่อยู่สูง มักสะท้อนรังสีอาทิตย์ short wave ส่วนมากกลับออกไป และปล่อยรังสีคลื่นยาวจากโลกออกไป

Deep Convective Clouds เมฆที่มีความหนาเป็นกิโลเมตรและมักจะลอยที่ระดับความสูง 10 km (33,000 feet) จะเป็นตัวรังสีไม่ให้ผ่านไปทั้งจากดวงอาทิตย์และโลก

Annual average net radiation คือความแตกต่างระหว่าง solar radiation ที่เข้ามาแล้วดูดซับด้วยโลก และ infrared radiation จากโลกที่ออกไป ปกติจะเป็น positive at low latitudes (increases in heating ส้ม, แดง, และชมพู ตามลำดับ) and negative at high latitudes (increases in cooling เขียว และน้ำเงิน ตามลำดับ) Annual average net cloud radiation forcing (bottom) คือผลกระทบ 2 ส่วน (1) greenhouse heating by clouds (or positive forcing)--clouds trap heat coming from Earth's surface that would otherwise be lost to space, and (2) cooling by clouds (or negative forcing)--clouds reflect incoming solar radiation back to space. The relatively large areas where cooling is the greatest are represented by colors that range from yellow to green to blue. In some areas, the effect of the clouds is to produce some warming as shown by colors that range from orange to red to pink.

ทำไมท้องฟ้าจึงสีฟ้า ดวงอาทิตย์อยู่สูง เราทิศเดียวกับแสง อีกทั้งสีฟ้ากระเจิงแสง(scatter)ได้มากกว่าสีอื่น และได้ทุกทางเพราะสีฟ้ามีความยาวคลื่นสั้น ใช้เวลาในการเคลื่อนที่สั้นกว่าสีอื่น ทำให้มองเห็นแสงสีฟ้ามากครั้งกว่าสีอื่น

ทำไมท้องฟ้าจึงสีแดงเวลาใกล้ลับขอบฟ้า ดวงอาทิตย์อยู่กว่าท้องฟ้า แสงต้องวิ่งผ่านสิ่งต่างๆ แสงสีฟ้าที่กระเจิงก็จะไปติดสิ่งต่างๆ แต่แสงสีแดงเหลือง มีความยาวคลื่นมากกว่า ก็สามารถทะลุผ่านมาได้ จึงมองเห็นเพียงสีแดงและเหลือง

เมื่อดวงอาทิตย์ไม่ยอมตกดิน เป็นสัญญาณหนึ่งของ global warming เวลากลางคืนสั้นลง สาเหตุคือเมฆชั้น Troposphere บาง และเมฆที่อยู่ชั้นสูงมีฝุ่นมากทำให้เกิดควบแน่นเป็นน้ำแข็ง

The end