บทที่ 3 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง 2/2550

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักทั่วไปของเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาค ในเรื่องปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ปัจจัยกำหนดอุปสงค์และอุปทานของสินค้าพฤติกรรมผู้บริโภค ลักษณะสำคัญของตลาดสินค้าที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
(Impulse and Impulsive force)
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
การประยุกต์ 1. Utility function
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
กลไกราคากับผู้บริโภค
ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
การแบ่งส่วนตลาด การกำหนดตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
Course Syllabus เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นสาหรับวิศวกร
Application of Graph Theory
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
Topic 10 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
เงินเฟ้อ และเงินฝืด.
ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
บทที่ 6 ทฤษฎีโครงสร้าง – หน้าที่
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
การวางแผนกำลังการผลิต
การบริหารทรัพยากรบุคคลใหม่กับการวางแผนกำลังคน New Human Resource Management and Workforce Planning ดร.ปธาน สุวรรณมงคล.
พยากรณ์การเกิดโรคมาลาเรีย ปี 2555 โดยการวิเคราะห์อนุกรมเวลา ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 15 และ 16.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์การผลิต.
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
ตลาดเงินตราต่างประเทศ และอัตราแลกเปลี่ยน
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ห่วงโซ่คุณภาพ (Chain of Quality)
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ
บทที่1 การบริหารการผลิต
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง 2/2550 บทที่ 3 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง 2/2550 ศศิธร สุวรรณเทพ

รายได้ประชาชาติดุลยภาพ รายได้ประชาชาติที่อยู่ในระดับเดียวกับความต้องการใช้จ่ายมวลรวมเป็นระดับรายได้ประชาชาติที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ตราบเท่าที่ส่วนประกอบของความต้องการใช้จ่ายมวลรวมยังคงสภาพเดิม แนวทางการวิเคราะห์รายได้ดุลยภาพแบ่งได้ 2 แนวทาง แนวทางอุปสงค์รวมเท่ากับอุปทานรวม แนวทางส่วนรั่วไหลเท่ากับส่วนอัดฉีด ศศิธร สุวรรณเทพ ศศิธร

แนวทางอุปสงค์รวมเท่ากับอุปทานรวม (AD = AS) อุปสงค์รวมประกอบด้วย C+ I + G + ( X - M ) = AD อุปทานรวม (AS) คือผลิตภัณฑ์ประชาชาติ (Y) ดังนั้น รายได้ประชาชาติอยู่ในดุลยภาพเมื่อ อุปสงค์รวม = อุปทานรวม C + I + G + ( X - M ) = Y ศศิธร สุวรรณเทพ

การวิเคราะห์จากกราฟ AD, AS AS = Y AD<Y AD = C+I+G+(X-M) ADE AD>Y 45 • Y YE Y2 Y1 ศศิธร สุวรรณเทพ

แนวทางส่วนรั่วไหล (Leakage) เท่ากับส่วนอัดฉีด (Injection) ส่วนรั่วไหลคือส่วนที่ทำให้รายได้ประชาชาติลดลง เมื่อตัวแปร ดังกล่าวเพิ่มขึ้น ประกอบด้วย S , T , M ส่วนอัดฉีดคือส่วนที่ทำให้รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น เมื่อตัวแปร ดังกล่าวเพิ่มขึ้น ประกอบด้วยรายจ่ายอิสระ Ia , G , X รายได้ประชาชาติจะอยู่ในระดับดุลยภาพเมื่อ S + T + M = Ia + G + X สมมติให้ Ia : เป็นการลงทุนอิสระ ศศิธร สุวรรณเทพ

การวิเคราะห์จากกราฟ S+T+M=I+G+X E I+G+X Y Ye S + T + M Ia Y Ye ศศิธร สุวรรณเทพ

การเปลี่ยนแปลงระดับดุลยภาพ รายได้ประชาชาติดุลยภาพจะเปลี่ยนแปลง เมื่อตัวกำหนดรายได้ เปลี่ยนแปลง ซึ่งตัวกำหนดรายได้ดุลยภาพคือ อุปสงค์รวมและอุปทานรวม เปลี่ยนแปลง เช่น การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ C, I , G , ( X - M ) ตัวใดตัวหนึ่งเปลี่ยน หรือ ทุกตัวเปลี่ยนพร้อมกัน จะทำให้รายได้ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงไปด้วย หรือ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของส่วนรั่วไหล (S,T,M) และส่วนอัดฉีด (I,G,X) ศศิธร สุวรรณเทพ ศศิธร

การวิเคราะห์จากกราฟ กำหนดรายจ่ายของรัฐบาลเพิ่มขึ้น S+T+M=I+G+X AD AS = Y S+T+M AD2 AD1 I+G’+X เมื่อ G I+G+X เมื่อ G Y Y1 Y2 45 • Y Y2 Y1 ศศิธร สุวรรณเทพ

คือค่าที่เป็นตัวเลขที่แสดงว่าเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายจ่ายอิสระ ตัวทวี ( multiplier ) คือค่าที่เป็นตัวเลขที่แสดงว่าเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายจ่ายอิสระ แล้ว ระดับรายได้ประชาชาติจะเปลี่ยนแปลงไปเท่าใดของ รายจ่าย อิสระ เช่น ถ้าการลงทุนอิสระเพิ่มขึ้น Y = k Ia เมื่อ Y: การเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติ Ia : การเปลี่ยนแปลงของการลงทุนอิสระ k : ตัวทวี ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1 / 1 - MPC = 1 / MPS ศศิธร สุวรรณเทพ

ช่วงห่างการเฟ้อ และช่วงห่างการฝืด รายได้ประชาชาติดุลยภาพที่เกิดขึ้นในขณะใดขณะหนึ่ง อาจจะมี ค่าไม่เท่ากับรายได้ประชาชาติ ณ ระดับที่มีการจ้างงานเต็มที่ (full employment income หรือ potential income ) เมื่อไม่เท่ากันส่วนต่างดังกล่าวเรียกว่า ช่วงห่างรายได้ ( income gap ) ซึ่งมี 2 ชนิดคือ ช่วงห่างการเฟ้อ ช่วงห่างการฝืด ศศิธร สุวรรณเทพ

ช่วงห่างการเฟ้อ และช่วงห่างการฝืด ช่วงห่างการเฟ้อ ( Inflationary gap ) : สภาวะที่ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่เกิดขึ้นจริงมีค่ามากกว่าความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่มีการจ้างงานเต็มที่ ช่วงห่างการฝืด ( Deflationary gap ) : สภาวะที่ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่เกิดขึ้นจริงมีค่าต่ำกว่าความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่มีการจ้างงานเต็มที่ ศศิธร สุวรรณเทพ

การพิจารณาช่วงห่างการเฟ้อและช่วงห่างการฝืดจากกราฟ AD , AS AS = Y ช่วงห่างการเฟ้อ AD2 E2 A ADF Ef AD1 E1 ช่วงห่างการฝืด 45 o F : ระดับที่มีการจ้างงานเต็มที่ (Full Employment) Y Y1 YF Y2 ศศิธร สุวรรณเทพ