PATCHARAPORN INRIRAI ID

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
TGO/CFP-P บริษัท การประเมินวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์……………… ขอบเขตการศึกษา..B2B..or..B2C ชื่อที่ปรึกษา
Advertisements

การจัดทำความตกลงการค้าเสรี อาเซียน - สหภาพยุโรป
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
บทที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจออนไลน์
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2554 นางฉันทนา ลิ้มนิรันดร์กุล สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
การวางแผนกลยุทธ์.
การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และสาเหตุที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ล้มเหลว
Introduction to Education Criteria for Performance Excellence (ECPE)
Ecodesign นำเสนอ โดย นายนราวิชญ์ รุ่งเดช เลขที่ 25
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
องค์กรร่วมลดโลกร้อน ด้วยการลดคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร
Free Trade Area Bilateral Agreement
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
Benchmarking.
Double our business while reducing our environmental impacts and improving people’s health and livelihoods The Goal เราตั้งใจที่จะขยายธุรกิจโดยเติบโตเป็นสองเท่าขณะเดียวกันเราจะลดผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมพร้อมทั้งช่วยยกระดับสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีและส่
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
Section-2 Product Design for Environment
การเตรียมความพร้อมของ SHARP เรื่อง RoHS
ภาวะอุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
ภาวะโลกร้อนกับมาตรการทางการค้า อุปสรรคหรือโอกาสทางธุรกิจ
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
เริ่มเข้าโครงการ Carbon Footprint เพราะอะไร?
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
สื่อโฆษณาเพื่อส่งเสริมการขาย
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
แนวทางการใช้ Green ICT ในองค์กรแบบพอเพียง
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
จิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่1 การบริหารการผลิต
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ความหมายของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
บริษัท แอมเวย์ประเทศไทย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

PATCHARAPORN INRIRAI ID. 53402618 Carbon footprint and Water footprint PATCHARAPORN INRIRAI ID. 53402618 ET 694 Solar Energy

Outline Carbon Footprint Water Footprint ความเป็นมา ฉลากคาร์บอน ประโยชน์ Water Footprint การวิเคราะห์ Water footprint Nation water footprint การนำเสนอในวันนี้ประกอบไปด้วย Carbon footprint โดยจะนำเสนอถึง ความเป็นมา มาตรฐานต่าง ๆ การวิเคราะห์ ฉลากคาร์บอน และประโยชน์ที่ได้รับ Water footprint จะกล่าวถึงความเป็นมา การวิเคราะห์ และนำเสนอ Nation water footprint

Carbon Footprint เราก็จะมาเริ่มกันด้วยหัวข้อเรื่อง Carbon footprint

Global Warming การปลดปล่อย Greenhouse Gases เนื่องจากกิจกรรมต่าง ๆ เป็นสาเหตุของปัญหา สภาวะโลกร้อน ได้มีการลงนามพิธีสารเกียวโตเกิดขึ้น เพื่อร่วมมือการลดการปลดปล่อย CO2 เนื่องจากปัญหาเรื่อง Global warming ในปัจจุบัน สาเหตุที่เกิดขึ้นจากการปลดปล่อย Greenhouse gas คือ .... ปริมาณมาก ซึ่งได้เกิดการลงนามพีธีสารเกียวโตขึ้น เพื่อร่วมมือการลดการปลดปล่อย CO2

Total GHG emissions by Region จากกราฟ ดังกล่าว ที่แสดงการปลดปล่อย GHG ของประเทศที่พัฒนาและกำลังพัฒนา ในปริมาณของคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า จะเห็นว่า มีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และเนื่องจากพิธีสารเกียวโตได้เกิด กลไกการพัฒนาสะอาดขึ้น CDM เพื่อลดปริมาณ GHG โดยหนึ่งโครงการที่สำคัญคือ Carbon footprint ที่มา : http://epa.gov/climatechange/emissions/globalghg.html

Carbon footprint Carbon footprint หมายถึง ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจากผลิตภัณฑ์แต่ละหน่วย ตลอดวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่การได้มาซึ่งวัตถุดิบ การขนส่ง การประกอบชิ้นส่วน การใช้งาน และการจัดการซากผลิตภัณฑ์หลังใช้งาน โดยคำนวณออกมาในรูปของคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โดยจะแสดงบนสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ในรูป ฉลากคาร์บอน โดย Carbon footprint หมายถึง ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจากผลิตภัณฑ์แต่ละหน่วย ตลอดวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่การได้มาซึ่งวัตถุดิบ การขนส่ง การประกอบชิ้นส่วน การใช้งาน และการจัดการซากผลิตภัณฑ์หลังใช้งาน โดยคำนวณออกมาในรูปของคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โดยจะแสดงบนสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ในรูป ฉลากคาร์บอน

มาตรฐานสำหรับ Carbon footprint สาธารณรัฐฝรั่งเศส พัฒนาวิธีการคำนวณ และ ซอฟแวร์ตารางการทำงาน เรียก “Bilan Carbone®” (Carbon balance) นับตั้งแต่ พ.ศ.2547 สหราชอาณาจักร พัฒนามาตรฐาน “PAS 2050: 2008” -Specification for the assessment of the life cycle greenhouse gas emissions of goods and services” ซึ่งประกาศใช้นับตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม 2551

มาตรฐานสำหรับ Carbon footprint ญี่ปุ่น ร่างแนวทางเชิงปฏิบัติ “Draft of Japanese Technical Specification – General principles for the assessment and labelling of Carbon Footprint of Products” (“CFP”) ประกาศใช้ในเดือนเมษายน 2552 ในระดับสากล ได้มีการประชุมครั้งแรกที่ประเทศมาเลเซีย ในเดือนมกราคม 2552 เกี่ยวกับการพัฒนามาตรฐาน ISO 14067 Carbon Footprint of Products

การวิเคราะห์ Carbon footprint กำหนดวัตถุประสงค์ เลือกผลิตภัณฑ์ ขอความร่วมมือจากผู้ค้าปัจจัย สร้างแผนผังกระบวนการ รวบรวมข้อมูล คำนวณ Carbon footprint กระบวนการวิเคราะห์และประเมินค่าผลกระทบของผลิตภัณฑ์ที่มีต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดช่วงชีวิตของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่การสกัดหรือการได้มาซึ่งวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การขนส่งและการแจกจ่าย การใช้งานผลิตภัณฑ์ การใช้ใหม่ / แปรรูป และการจัดการเศษซากของผลิตภัณฑ์หลังการใช้งาน   ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า พิจารณาผลิตภัณฑ์ตั้งแต่เกิดจนตาย (Cradle to Grave) โดยมีการระบุถึงปริมาณพลังงานและวัตถุดิบที่ใช้ รวมถึงของเสียที่ปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อมและการประเมินโอกาสที่จะส่งผลกระทบ ต่อระบบนิเวศและสุขอนามัยของชุมชน เพื่อที่จะหาวิธีการในการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด

การคำนวณ Carbon footprint Life Cycle Assessment: LCA กระบวนการวิเคราะห์และประเมินค่าผลกระทบของผลิตภัณฑ์ที่มีต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดช่วงชีวิตของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่การสกัดหรือการได้มาซึ่งวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การขนส่งและการแจกจ่าย การใช้งานผลิตภัณฑ์ การใช้ใหม่ / แปรรูป และการจัดการเศษซากของผลิตภัณฑ์หลังการใช้งาน   ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า พิจารณาผลิตภัณฑ์ตั้งแต่เกิดจนตาย (Cradle to Grave) โดยมีการระบุถึงปริมาณพลังงานและวัตถุดิบที่ใช้ รวมถึงของเสียที่ปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อมและการประเมินโอกาสที่จะส่งผลกระทบ ต่อระบบนิเวศและสุขอนามัยของชุมชน เพื่อที่จะหาวิธีการในการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ที่มา : http://www.mtec.or.th

ค่าศักยภาพการก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ conversion table ที่มา : http://www.carbontrust.co.uk

ค่าศักยภาพการก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ที่มา : http://www.carbontrust.co.uk

ค่าศักยภาพการก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ที่มา : http://www.carbontrust.co.uk

ตัวอย่างการประเมิน : Innocent Life cycle innocent smoothie และ ปริมาณ carbon footprint ที่มา : Carbon trust

ตัวอย่างการประเมิน : Walkers crips Life cycle walkers crips และ ปริมาณ carbon footprint ที่มา : Carbon trust

ฉลากคาร์บอน การแสดงข้อมูล Carbon footprint ทำได้โดยการติดฉลากบนสินค้า ผลิตภัณฑ์ รวมทั้งการแสดงข้อมูล ณ จุดขาย การติดฉลากคาร์บอนบนผลิตภัณฑ์ได้รับความสนใจในหลาย ๆ ประเทศ ตัวอย่างฉลากคาร์บอนในประเทศต่าง ๆ เกาหลี สวิสเซอร์แลนด์ อังกฤษ ไทย ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส อเมริกา

Carbon footprint: England เริ่มในอังกฤษ เดือนมีนาคม 2550 ภายใต้การกำกับดูแลของ Carbon Trust บนภาชนะบรรจุสินค้าภายใต้ตราสินค้า Tesco ผู้บริโภค จำนวนร้อยละ 66 ต้องการทราบจำนวน Carbon footprint ที่ปล่อยจากภาคการผลิตสินค้า ปัจจุบันได้มีโปรแกรมการคำนวณ carbon footprint วางขาย

ตัวอย่างสินค้าและบริษัทในอังกฤษ ที่มา : www.carbon-label.co.uk

ตัวอย่างสินค้าและบริษัทในฝรั่งเศส ที่มา : http://www.thailca.net/wp-content/uploads/2010/07/Athiwat.pdf

ตัวอย่างสินค้าและบริษัทในญี่ปุ่น ที่มา : http://www.thailca.net/wp-content/uploads/2010/07/Athiwat.pdf

Carbon footprint: South Korea ฉลาก carbon footprint label certificate ฉลาก Low carbon certification

ตัวอย่างสินค้าในเกาหลีใต้ ที่มา : http://www.thailca.net/wp-content/uploads/2010/07/Athiwat.pdf

Carbon footprint: Thailand ได้ริเริ่มโครงการในเดือน สิงหาคม 2551 โดย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย และองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ซึ่งในประเทศไทยจะแบ่งฉลากคาร์บอนออกเป็น 2 ประเภท ในช่วงแรกของโครงการจะมุ่งเน้นการออกฉลากคาร์บอนแบบที่ 2 ฉลากคาร์บอนแบบที่ 2 จะพิจารณาการประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยพิจารณาเฉพาะก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตเท่านั้น Carbon reduction Label

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ได้ Carbon reduction Label จากข้อมูลวันที่ 13 กรกฎาคม 2553 มีจำนวนทั้งสิ้น 16 บริษัท 72 ผลิตภัณฑ์ ที่มา : องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก

Carbon footprint: Thailand Carbon footprint Label ฉลากแสดงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจากผลิตภัณฑ์ ที่มา : องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก

โรงงานนำร่องในประเทศไทย มีโรงงานที่ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการ จำนวน 25 โรงงาน (25 ผลิตภัณฑ์) ที่มา : องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก

โรงงานนำร่องในประเทศไทย ที่มา : องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก

ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการอนุมัติให้ขึ้นทะเบียน Carbon footprint ข้อมูล ณ วันที่ 3 สิงหาคม 2553 จำนวน 22 ผลิตภัณฑ์ ที่มา : องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก

ประโยชน์ ผู้บริโภค ทางเลือกใหม่ในการซื้อสินค้าและบริการ เป็นตัวกระตุ้นให้ผู้ผลิตปรับปรุงกระบวนการผลิต การได้มาซึ่งวัตถุดิบ และผลิตสินค้าที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้อย มีส่วนร่วมในการช่วยลดปัญหาภาวะโลกร้อน ผู้ผลิต ลดต้นทุนการผลิตจากการพัฒนากระบวนการผลิตให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น แสดงเจตนารมณ์ในการรับผิดชอบต่อสังคมและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่บริษัท ลดข้อกีดกันทางการค้าที่จะเกิดขึ้นในอนาคตจากประเทศคู่ค้าอาทิ สหภาพยุโรป, ญี่ปุ่น ฯลฯ

Water Footprint

Water Introduction โลกประกอบด้วยน้ำ 3 ใน 4 ส่วน เป็นน้ำเค็ม 96.5% และ น้ำจืด 3.44% ที่มา : http://www.sunflowercosmos.orgl

ความเป็นมา World Water Forum  ที่กรุงอิสตันบูล ประเทศตุรกี ในปี ค.ศ. 2008  ว่าประชากรโลกจะเพิ่มจาก 6.5 พันล้านคนในปัจจุบันเป็น 9 พันล้านคนในปี ค.ศ. 2050  ผู้คนราว 1 ใน 5 หรือราว 1.3 พันล้านคนขาดน้ำสะอาดสำหรับดื่มกิน ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจากปัญหาน้ำดื่มปีละ 27 ล้านคนหรือ 1 คนทุก 8 วินาที อัตราการเติบโตของประชากรทำให้ความต้องการน้ำเพิ่มขึ้น  แต่ละปีประชากรโลกมีความต้องการน้ำจืดเพิ่มขึ้นปีละประมาณ 64,000 ล้านลูกบาศก์เมตร  7 องค์กรระดับโลก เช่น WWF, UNESCO, IFC และ WBCSD ได้ร่วมกันจัดตั้งเครือข่าย Water footprint

Water footprint “Water footprint” ของสินค้าหรือบริการ จึงเป็นปริมาณน้ำที่ใช้ในกระบวนการผลิตสินค้าและบริการทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยคำนวณปริมาณน้ำจากผลรวมของทุกขั้นตอนตลอดห่วงโซ่ของการผลิตสินค้าและบริการนั้น  สามารถแบ่งออกได้ 3 ประเภท Blue Water Footprint  Green Water Footprint Gray Water Footprint

การวิเคราะห์ water footprint Virtual water คือ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินปริมาณน้ำที่ใช้จริงในประเทศ แนวความคิด ประกอบด้วย 2 ส่วน Internal water footprint External water footprint National water footprint = national water use + virtual water import – virtual water export

External water footprint Virtual water import for re-export Nation Water footprint Internal water footprint External water footprint Water Water use for export Virtual water import for re-export Virtual export + = within country import Virtual water budget Consumption Export The traditional statistics on water use ที่มา : http://www.waterfootprint.org

Nation Water footprint ที่มา : http://www.waterfootprint.org

Nation Water footprint National water footprints for selected countries (after Hoekstra & Chapagain, 2007) ที่มา : http://www.connectedwaters.unsw.edu.au/resources/articles/waterfootprints.htm The highest water footprint per capita ที่มา : http://www.waterfootprint.org

Water footprint inside product ที่มา : http://www.waterfootprint.org

Reference Global Greenhouse gas data, http://epa.gov/climatechange/emissions/globalghg.html National Metal and Materials Technology Center, Thailand, http://www.mtec.or.th Carbon Trust, http://www.carbontrust.co.uk The Carbon Reduction Label, www.carbon-label.co.uk องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก, http://www.tgo.or.th http://www.sunflowercosmos.orgl Water Footprint and Virtual Water, http://www.waterfootprint.org

Thank you for your attention