Chemical Properties of Grain

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Carbohydrate Ramida Amornsitthiwat, M.D. Pichanee Chaweekulrat, M.D.
Advertisements

กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
Lab 1. การเก็บตัวอย่าง และการจำแนกชนิดวัชพืช
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
สิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้มีรูปร่าง และโครงสร้างที่แตกต่างกัน
ข้าวสาลีมีความสำคัญต่อ
BIOL OGY.
แบบฝึกหัด.
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
Carbohydrates  Macromolecules  Micromolecules - sucrose - starch
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Mr. POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Chemical Properties of Grain
Chemical Properties of Grain
Structural, Physical and Chemical properties of Grains
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
การวิเคราะห์อาหารสัตว์
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
บทที่ 1 Introduction.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
Part II - พลังงานจากสารอาหาร
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
DNA สำคัญอย่างไร.
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
Process of making enriched artificial rice กระบวนการทำเมล็ดข้าวเทียม
Biochemistry Quiz 2009.
นางสาวนัทธมน สกุลรุ่งโรจน์วุฒิ รหัสนิสิต : กลุ่ม : 2115
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
ข้าวกล้องงอก ข้าวกล้องหอมมะลิงอก ข้าวกล้องข้าวเหนียวดำ
โดย คุณครูพัชรี ลิ้มสุวรรณ
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
เคมีของชีวิต สารประกอบอินทรีย์
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวต (Chemical basic of organisms)
สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) ดร.ธิดา อมร.
BIOCHEMISTRY I CARBOHYDRATE II.
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chemical Properties of Grain เนื้อหามีที่ผิดซึ่งจะแจ้งในห้องเรียนเท่านั้น ผศ. ดร. ทรงศิลป์ พจน์ชนะชัย

Chemical Properties of Grain วัตถุประสงค์ของการศึกษา เป็นข้อมูลในการปฏิบัติการเก็บรักษา การปฏิบัติระหว่างการเก็บรักษา และอื่น ๆ การนำไปใช้ประโยชน์

องค์ประกอบทางเคมี 1. CHO (Carbohydrate) 6. Tannin 2. Protein 7.  Plant growth regulator 8.  Mineral 9.  Etc. 1.  CHO (Carbohydrate) 2.       Protein 3.       Lipids 4.       Vitamin 5.       Pigment

องค์ประกอบทางเคมีของเมล็ดถั่วเขียวและแป้งถั่วเขียว (คิดเป็นร้อยละของน้ำหนักแห้ง ) สารอาหาร เมล็ดถั่วเขียว แป้งถั่วเขียว โปรตีน 25.98 25.40 ไขมัน 1.30 2.52 เถ้า 3.80 3.16 เยื่อใย 4.79 1.01 คาร์โบไฮเดรต 64.12 58.77

คาร์โบไฮเดรต Polysaccharide C H O ที่พบโดยทั่วไปในเมล็ดพืช 25-27% ในเมล็ดธัญพืชหลายชนิดพบสูงถึง 40-80% เช่น ข้าวสาลี ข้าวโพด

C H O คาร์โบไฮเดรต Polysaccharide Structure * Polyhydroxy aldehyde * Polyhydroxy ketone (CH2O)n, n ≥3, n = จำนวนโมเลกุลที่จะนำมาต่อกัน

คาร์โบไฮเดรต * Polyhydroxy aldehyde * Polyhydroxy ketone (CH2O)n, n ≥3, n = จำนวนโมเลกุลที่จะนำมาต่อกัน H C = O HC–OH D-glyceraldehyde H2C–OH CH2OH CH2OH dihydroxy acetone

* C H O สามารถแบ่ง ออกเป็น 3 ประเภท * คาร์โบไฮเดรต * C H O สามารถแบ่ง ออกเป็น 3 ประเภท * 1. Monosaccharide (น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว) ละลายในน้ำ แต่ไม่ละลายในตัวทำละลายอินทรีย์ และมีรสหวาน เช่น Glucose Fructose, Galactose Glucose เป็นสารตั้งต้นที่สำคัญของขบวนการหายใจ น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว พบเป็น สปก. ของกรดนิวคลีอิก & lipid complex ในเมล็ดพืชพบมากในส่วนของ embryo และ bran (aluerone layer)

Four common monosaccharide hexoses (simple structure) glucose galactose fructose

Four common monosaccharides hexoses (ring structure) glucose fructose galactose

2. Oligosaccharide ประกอบด้วย monosaccharide 2-10 โมเลกุล เชื่อมกันด้วยพันธะ glycosidic (glycosidic linkage) ละลายได้ดีในน้ำ ไม่ละลายในตัวทำละลายอินทรีย์ และมีรสหวาน

Two common polysaccharides (ring structure) Sucrose Lactose

3. Polysaccharide มีคุณลักษณะดังนี้ อาจมีโครงสร้างเชิงเส้น หรือ branch chain ไม่มีรส ไม่ละลายน้ำ & มีมวลโมเลกุลสูง เป็น polymer ของ monosaccharide

3.1 Storage polysaccharide 3.2 Structural polysaccharide 3.1 Storage polysaccharide ในเมล็ดพืชที่เป็นอาหารสะสมส่วนใหญ่รูป ของ แป้ง (starch) และสะสมอยู่ใน plastid, amyloplast แป้งเป็น Polysaccharide สายยาว ในเมล็ดพืชส่วนใหญ่มีอยู่ 2 ชนิด 2. Amylopectin 1. Amylose

Storage Starch * amylose ประกอบด้วย glucose ต่อกันเป็นสายยาว -1,4 glycosidic linkage ทำปฏิกิริยากับไอโอดีน (I2) ให้สีน้ำเงิน

* amylopectin ประกอบด้วย glucose ต่อกันเป็นสายยาว และมีสาขา มวลโมเลกุล ~1 ล้านดาลตัน ทำปฏิกิริยากับไอโอดีน (I2) ให้สีม่วงแดง -1,4 และ -1,6 glycosidic linkage Amylopectin

พบ amylopectin มากในแป้งข้าวเหนียว ข้าวโพดข้าวเหนียว ข้าวฟ่าง พบสูงถึง 60-100%

Starch grain

Granule size - 3-10 m

Various protein bodies and compound starch granule in the endosperm subaleurone layer

3.2 Structural polysaccharide 3.2.1 Cellulose glucose ต่อกันด้วยพันธะ -1,4 glycosidic โมเลกุลของ cellulose อยู่ในลักษณะยาวเรียงขนานกันแต่ละเส้นเชื่อมกันด้วยพันธะโฮโดรเจน เช่น เยื่อใย พบมากในส่วนของเปลือกหุ้มเมล็ด

Rice (Japonica Type)

3.2.2 Pectin 3.2.3 Hemicelluloses ปกด. Arabinose galactose และ galacturonic 3.2.3 Hemicelluloses เป็น polymer ของ xylose เชื่อมกันด้วยพันธะ β (1,4) glycosidic มีโซ่ข้างต่อเชื่อมด้วย arabinose และน้ำตาลชนิดอื่น แป้งที่สะสม อยู่ในรูปที่เรียกว่า Starch grain น้ำตาล มีอยู่น้อยและส่วนใหญ่อยู่ในคัพภะ

คำถาม องค์ประกอบทางเคของคาร์โบไฮเดรทมีอะไรบ้าง คาร์โบไฮเดรทสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท 3. Polysaccharide แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง 4. Starch ที่พบในเมล็ดธัญพืชประกอบด้วย Polysaccharide กี่ชนิดอะไรบ้าง 5. เมล็ดพืชตระกูลถั่วที่มีคาร์โบไฮเดรทสูงคือ อะไรและมีปริมาณเท่าไร

6. คาร์โบไฮเดรทพบมากในส่วนใดของเมล็ดพืช 7. แป้งที่สะสม ในเมล็ดอยู่ในรูปใด และมีประโยชน์ต่อการศึกษาเมล็ดพืชอย่างไร 8. น้ำตาล ส่วนใหญ่อยู่ในส่วนไหนของเมล็ด 9. น้ำตาลในเมล็ดพืชมีความสำคัญต่อเมล็ดพืชอย่างไรบ้าง 10. Cellulose คือ อะไร มีส่วนสำคัญต่อเมล็ดพืชอย่างไร 11. Pectin คืออะไร เกี่ยวข้องกับเมล็ดพืชอย่างไร

เชิงเส้น มีสาขา

Amylose Amylopectin