งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวต (Chemical basic of organisms)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวต (Chemical basic of organisms)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวต (Chemical basic of organisms)
นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ

2 สารประกอบคาร์โบไฮเดรต
1. ธาตุหลักของคาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) ธาตุที่เป็นองค์ประกอบหลักของคาร์โบไฮเดรตมี 3 ชนิด คือ C H O อัตราส่วน H : O = 2 : 1 โดยจำนวนอะตอม เช่น C5H10O5 , C6H12O6 , C1 2H22O11 ยกเว้นน้ำตาลดีออกซีไรโบส (deoxyribose) ใน DNA ซึ่ง H : O ไม่เท่ากับ 2 : 1 โดยมีสูตรโมเลกุลเป็น C5H10O4 อย่างไรก็ตาม สารที่มี H : O = 2 : 1 ก็ไม่จำเป็นต้องเป็นคาร์โบไฮเดรตเสมอไป เช่น กรกแลกติกที่สร้างโมเลกุลเป็น C3 H6 O3 ก็ไม่ใช่คาร์โบไฮเดรต

3 2. ประเภทของคาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรตสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ 1. มอนอแซ็กคาไรด์ (Monosaccharide) 2. โอลิโกแซ็กคาไรด์ (Oligosaccharide) 3. พอลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharide)

4 คาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ (กาแลคโตส+กลูโคส+ฟรุกโตส)
น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว (monosaccharide) โอลิโกแซคคาไรด์ (Oligosaccharide) คาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharide) กลูโคส (glucose) กาแลคโตส (galactose) ฟรุกโตส (fructose) น้ำตาลโมเลกุลคู่ (disaccharide) ไตรแซคคาไรด์ (trisaccharide) มอลโตส (maltose) (กลูโคส+กลูโคส) แลคโตส (lactose) (กลูโคส+กาแลคโตส) ซูโครส (sucrose) (กลูโคส+ฟลักโตส) เซลไลไบโอส (cellobiose) (กลูโคส+กลูโคส) แรฟฟิโนส (raffinose) (กาแลคโตส+กลูโคส+ฟรุกโตส) แป้ง (Starch) ประกอบด้วยโครงสร้าง 2 ส่วน ไกลโคเจน (glycogen) เซลลูโลส (cellulose) วุ้น (agar) อินูลิน (inulin) ไคติน (chitin)

5 น้ำตาลกลูโคส หรือเดกซ์โตรส(Glucose
น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว ชนิดของน้ำตาล สูตรโครงสร้าง แหล่งที่พบ ความสำคัญ น้ำตาลกลูโคส หรือเดกซ์โตรส(Glucose หรือ Dextrose) อ้อย, น้ำผึ้ง และองุ่น จึงมักเรียกว่า น้ำตาลองุ่น(grape sugar) 1. เป็นสารอาหารที่สิ่งมีชีวิตใช้ เป็นแหล่งพลังงานสำคัญที่สุด สามารถสลายให้พลังงาน อย่างรวดเร็ว 3. เป็นสารประกอบของคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharide) เช่น แป้งไกลโคเจน และเซลลูโลส 4. พบในสิ่งมีชีวิตทุก ชนิดและเป็นน้ำตาลที่ มีมากที่สุดในธรรมชาติ

6 ชนิดของน้ำตาล สูตรโครงสร้าง แหล่งที่พบ ความสำคัญ
น้ำตาลฟรุกโตส (Fructose) ผลไม้ น้ำน้ำผึ้ง อสุจิ และ สายสะดือ 1. เป็นสารอาหารให้พลังงานแก่ตัวอสุจิของสัตว์ชั้นสูง 2. เป็นน้ำตาลที่มีรสหวาน ที่สุด 3. เป็นน้ำตาลที่ทำให้น้ำผึ้ง มีน้ำตาล ฟรุกโตส

7 น้ำตาลกาแลกโตส(Galactose)
ชนิดของน้ำตาล สูตรโครงสร้าง แหล่งที่พบ ความสำคัญ น้ำตาลกาแลกโตส(Galactose) *ปัจจุบันโครงสร้างคล้ายกลูโคสมากที่สุด น้ำนม, ไกโคไลปิดของเนื้อเยื่อประสาท มิวดคโพลีแซคคาไรด์ (Mucopolysaccharide) ของกระดูกอ่อนและพังผืด พบในรูปของ กาแลกโตซามีน (galactosamine) ในสารหลายชนิด เช่นสารหมู่เลือด (blood group substance) 1. เป็นองค์ประกอบของวุ้น (agar) 2. เป็นสารอาหารให้พลังงาน

8 1. น้ำตาลโมเลกุลคู่ (disacchoride)
โอลิโกแซคคาไรด์ 1. น้ำตาลโมเลกุลคู่ (disacchoride) C6H12O6 + C6H12O6 C12H22O11 + H2O กลูโคส + กลูโคส มอลโตส + น้ำ กาแลกโตส + กลูโคส แลกโตส + น้ำ กลูโคส + ฟรุกโตส ซูโครส + น้ำ

9 dehydration กลูโคส กลูโคส มอลโตส

10 dehydration แลกโตส กาแลกโตส กลูโคส

11 dehydration กลูโคส ฟรุกโตส ซูโครส

12 ตารางแสดงไดแซคคาไรด์ที่พบโดยทั่วไป
ชนิดของ น้ำตาล สูตรโครงสร้าง ความสำคัญ มอลโคส พบในต้นถั่ว ต้นข้าวมอล ที่กำลังเจริญเติบโต และ ได้จากการย่อยแป้งด้วยเอ็นไซม์-แอลฟาอะไมเลส (- amylase) 1 - 4 Glycoside linkage

13 แลกโตส ชนิดของ น้ำตาล สูตรโครงสร้าง ความสำคัญ
พบในน้ำนมของสัตว์ หรืออาจพบในปัสสาวะของหญิงมีครรภ์ ถ้าหมัก แลกโตสกับเชื้อแบคทีเรียพวกแลคโตบาซิลัส (Lactocillus) จะได้กรดแลคติคและแอลกอฮอล์ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผลผลิตทางอุตสาหกรรมทำเนยแข็ง

14 ซูโครส ชนิดของ น้ำตาล สูตรโครงสร้าง ความสำคัญ
พบในพืช เช่น น้ำตาลอ้อย น้ำตาลหัวบีทความหวานของซูโครสมากจากฟรุกโตสที่มีในโครงสร้าง

15 เซลโลไบโอส ชนิดของ น้ำตาล สูตรโครงสร้าง ความสำคัญ
ได้จากการย่อยเซลลูโลส โดยใช้เอนไซม์เซลลูเลส (cellulase) 1 - 4 Glycoside linkage

16 2. ไตรแซคคาไรด์ (Trisaccharide)
น้ำตาลแรฟฟิโนส (raffinose) ประกอบขึ้นจากกลูโคส, กาแลกโตส และฟรุกโตสอย่างละ 1 โมเลกุล ราฟฟิโนส พบมากในเหง้าพุทธรักษา และหัวบีท (beet root) กาแลกโตส กลูโคส ฟรุกโตส แสดงสูตรโครงสร้างของน้ำตาล RAFFINOSE

17 คาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่
คาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่หรือพอลีแซคคาไรด์ (Polysaccharide)  เป็นคาร์โบไฮเดรตที่เกิดจากน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวมากกว่า 10 โมเลกุลขึ้นไปจนหลาย ๆ ร้อยโมเลกุลมารวมตัวกันด้วยพันธะไกลโคซิติก กลายเป็นโมเลกุลขนาดใหญ่ (Polymer)  คาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่เป็นคาร์โบไฮเดรตที่พบมาที่สุดในธรรมชาติ  สูตรโมเลกุลเป็น (C6H10O5)n (n = จำนวนโมเลกุลของน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว) polymerization nC6H10O5 (C6H10O5)n + (n – 1)H2O (จำนวนโมเลกุลของน้ำที่เกิดจากปฏิกิริยาจะน้อยกว่า จำนวน โมเลกุลของน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวอยู่เท่ากับ 1)

18 แป้ง (Starch) กลูโคส ไกลโคเจน (Glycogen) กลูโคส
คาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ หน่วยย่อย (monomer) ที่เป็นองค์ประกอบ ความสำคัญของคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ แป้ง (Starch) กลูโคส อาหารสะสมในพืช ซึ่งเป็นอาหารสะสมที่มีประมาณมากที่สุดในธรรมชาติ ไกลโคเจน (Glycogen) กลูโคส อาหารสะสมในสัตว์ โดยเก็บสะสมในตับและกล้ามเนื้อ และถูกดึงมาสลายให้พลังงานเป็นสำคัญแรกสุด เมื่อร่างกายขาดแคลนอาหาร

19 เซลลูโลส (Cellulose) กลูโคส วุ้น (Agar) กาแลกโตส
คาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ หน่วยย่อย (monomer) ที่เป็นองค์ประกอบ ความสำคัญของคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ เซลลูโลส (Cellulose) กลูโคส องค์ประกอบของผนังเซลล์ (cell wall) ของพืชและสาหร่าย และเป็นสารอินทรีย์ ที่มีมากที่สุด วุ้น (Agar) กาแลกโตส องค์ประกอบในผนังเซลล์ของสาหร่ายสีแดง เช่น สารหร่ายผมนาง (Eracilaria sp.) , Gelidium ใช้เป็นตัวกลางเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์และเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

20 อินูลิน (Inulin) ฟรุกโตส ไคติน (chitin)
คาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ หน่วยย่อย (monomer) ที่เป็นองค์ประกอบ ความสำคัญของคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ อินูลิน (Inulin) ฟรุกโตส อาหารสะสมในเหง้าพลับพลึงและเหง้ารักเร่ ไคติน (chitin) N-acetyl glucosamine องค์ประกอบของโครงร่างแข็งภายนอก (exoskeleton) หรือของแมลง กุ้ง กั้ง ปู รวมทั้งพบในผนังของเห็ด รา ยีสท์

21 ตารางสรุปชนิดและความสัมพันธ์ระหว่างคาร์โบไฮเดรตชนิดต่างๆ
โมเลกุลใหญ่ (C6H10O5)n แป้ง ไกลโคเจน เซลลูโลส ไคติน อินูลิน วุ้น น้ำตาลโมเลกุลคู่ (C12H2O11) มอลโตส เซลโลไบโอส ซูโครส แลกโตส น้ำตาล โมเลกุลเดี่ยว (C6H12O6) กลูโคส กลูโคส กลูโคส อะซิติลกลูโคซามีน กลูโคส กลูโคส ฟรุกโตส กาแลกโตส ฟรุกโตส กาแลกโตส

22 (แต่ละจุดแต่ละวงแสดงโมเลกุลกูลโคส)
ไกลโคเจน ไกลโคเจน ไกลโคเจน แป้ง กลูโคส กลูโคส (แต่ละจุดแต่ละวงแสดงโมเลกุลกูลโคส) (a) แผนภาพโครงสร้างเซลลูโลสซึ่งโมเลกุลไม่แตกแขนง (b) โครงสร้างส่วนหนึ่งของเซลลูโลส

23 แผนภาพแสดงโครงสร้างส่วนหนึ่งของไคติน
ก. ก. โมเลกุลของอะซิติลกลูโคซามีน ข. การยึดเหนี่ยวพันธะเคมีระหว่าง โมเลกุลอะซิติลกลูโคซามีน ข. แผนภาพแสดงโครงสร้างส่วนหนึ่งของไคติน


ดาวน์โหลด ppt เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวต (Chemical basic of organisms)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google