33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
Priciples of Marketing
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์เป็นเรื่องเกี่ยวกับ “กิจการสาธารณะ (Public Affairs)” และพื้นฐานของรัฐประศาสนศาสตร์ก็คืองานบริหารงานภาครัฐใดๆ ที่ต้องคำนึงถึง.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 3
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 2
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 7
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 6
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 4
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 10
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 13
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การทำงานเชิงรุก การทำงานเชิงรุก
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ สหกรณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
Computer Application in Customer Relationship Management
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การศึกษาความพึงพอใจของ
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
Participation : Road to Success
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
ดัชนีชี้วัดระดับบุคคล หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญของบุคคลแต่ละตำแหน่งหรือแต่ละบุคคล ซึ่งแสดงผลเป็นข้อมูลในรูปของตัวเลขเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานของบุคคล.
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
เราเป็นผู้นำ.
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPI)
การจัดทำดัชนีชี้วัดและ การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
บทบาทของข้อมูลการตลาด
คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
หลักการเขียนโครงการ.
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
บทที่1 การบริหารการผลิต
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
ใบสำเนางานนำเสนอ:

33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5 รัฐประศาสนศาสตร์กับการให้บริการสาธารณะ รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1 1

การให้บริการสาธารณะ หน่วยงานและบุคคลที่ทำหน้าที่ให้บริการ หมายถึง การที่หน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจจะเป็นของรัฐหรือเอกชน ดำเนินการส่งต่อบริการให้แก่ ประชาชน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อตอบสนองต่อความต้องการ ของประชาชนโดยส่วนรวม การให้บริการมีลักษณะที่เป็นระบบ มีองค์ประกอบที่สำคัญ 6 ประการ คือ หน่วยงานและบุคคลที่ทำหน้าที่ให้บริการ ปัจจัยนำเข้าหรือทรัพยากร กระบวนการและกิจกรรม ช่องทางการให้บริการ ผลผลิตหรือตัวบริการ และ ผลกระทบหรือคุณค่าที่มีต่อผู้รับบริการ

ค่านิยมที่สำคัญ ของการให้บริการสาธารณะ ความพอเพียง ความเสมอภาค ความตรงเวลา การมีจิตสำนึกในการให้บริการ ความก้าวหน้าของการให้บริการ การยอมรับการร้องเรียน การมีส่วนร่วมของประชาชน การตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน การสร้างความพึงพอใจให้เกิดขึ้นแก่ผู้รับบริการ

แนวคิดสมัยใหม่ เกี่ยวกับการให้บริการสาธารณะ แนวคิดการให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ แนวคิดการให้บริการแบบออนไลน์ แนวคิดสมัยใหม่เกี่ยวกับการให้บริการสาธารณะ แนวคิดการให้บริการแบบเครือข่ายหรือ การสร้างการมีส่วนร่วมจากภายนอก แนวคิดการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (CRM – Customer Relationship Management)

1. แนวคิดการให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ หมายถึง การนำงานที่ให้บริการทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง มารวมให้บริการอยู่ในสถานที่เดียวกัน ในลักษณะที่ส่งต่องานระหว่างกันทันทีหรือเสร็จในขั้นตอนหรือเสร็จในจุดให้บริการเดียว โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้การให้บริการมีความรวดเร็วขึ้น รูปแบบของการให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ มีรูปแบบที่สำคัญ คือ รูปแบบที่ 1 การนำหลายหน่วยงานมารวมให้บริการอยู่ในสถานที่เดียวกัน รูปแบบที่ 2 กระจายอำนาจมาให้หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งทำหน้าที่ให้ บริการแบบเบ็ดเสร็จ รูปแบบที่ 3 การปรับปรุงและออกแบบใหม่ในการให้บริการ รูปแบบที่ 4 การสามารถให้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ตได้เสร็จทันที

2. แนวคิดการให้บริการแบบออนไลน์ หมายถึง การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างปฏิสัมพันธ์ของการให้บริการระหว่างหน่วยงานที่ทำ หน้าที่ที่ให้บริการกับลูกค้าหรือประชาชน ผู้รับบริการ โดยเป็นการให้บริการที่ไม่ได้มีการเผชิญหน้ากันระหว่างผู้ให้บริการกับผู้รับบริการ แต่จะทำผ่านสื่อการให้บริการที่เป็นเสียง ข้อมูล และภาพ การให้บริการแบบออนไลน์ สามารถทำได้อย่างน้อย 3 รูปแบบที่สำคัญ ได้แก่ 1. การให้บริการตอบรับทางโทรศัพท์อัตโนมัติ 2. การให้บริการผ่านเครื่องให้บริการอัตโนมัติ 3. การให้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต

3. แนวคิดการให้บริการแบบเครือข่ายหรือ การสร้างการมีส่วนร่วมจากภายนอก การให้บริการแบบเครือข่าย หมายถึง การสร้างระบบความร่วมมือของการให้บริการระหว่างหน่วยงานให้เกิดขึ้นเพื่อมาช่วยให้บริการแก่ประชาชนหรือลูกค้า รวมถึงการนำประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริการ รูปแบบของการให้บริการแบบเครือข่าย เกิดขึ้นได้อย่างน้อย 3 รูปแบบ คือ 1.  การดึงความร่วมมือจากองค์การภายนอกมาร่วมให้บริการเฉพาะใน บางส่วนของการให้บริการ 2.  การดึงความร่วมมือจากองค์การภายนอกมาร่วมให้บริการในรูปแบบ การทำสัญญาจ้างเหมาบริการ (Contract-out) 3. การให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการให้บริการสาธารณะ

4. แนวคิดการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relationship Management –CRM) เป็นการมุ่งตอบสนองคุณค่าระหว่างกันขององค์การกับลูกค้า โดยองค์การมุ่งสร้างคุณค่าใหม่ ๆ ที่ดีให้เกิดขึ้นแก่ลูกค้า ส่วนลูกค้าสร้างคุณค่าให้แก่องค์การด้วยการเกิดความรู้สึกความจงรักภักดีหรือประทับใจต่อองค์การตลอดไป หลักการที่สำคัญของการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ หรือ CRM คือ 1. ใช้ความรู้ที่องค์การมีเกี่ยวกับลูกค้าหรือประชาชนให้เกิดประโยชน์ 2. ใช้กลยุทธ์ชนะ–ชนะ (Win-Win strategy) กล่าวคือ หน่วยงานสามารถเพิ่ม คุณค่า (value) ให้แก่ลูกค้าหรือประชาชน ลูกค้าหรือประชาชนให้ความ จงรักภักดี (loyalty) แก่องค์การมากขึ้น 3. ยอมรับในความแตกต่างของลูกค้าหรือประชาชนที่มีความแตกต่างกัน จะต้องมี วิธีการจัดการที่แตกต่างกัน 4. เน้นให้บริการที่จับหัวใจลูกค้าหรือประชาชน โดยทำให้ลูกค้าหรือประชาชนเกิด ความสุข (happy) 5. เปลี่ยนวิธีการบริหารจัดการจากการมองหน่วยงานตนเองเป็นหลัก (Inside out) มาเป็นการมองลูกค้าหรือประชาชนเป็นหลัก (Outside in)

การประเมินความสำเร็จ ของการให้บริการสาธารณะ แนวทางอัตวิสัย (Subjective) - เน้นที่ประชาชนหรือผู้รับบริการ - มุ่งตอบคำถามที่สำคัญ 2 ประการ คือ 1. หน่วยงานที่ทำหน้าที่ที่ให้บริการสาธารณะ สามารถตอบสนองต่อความต้องการและ ข้อเรียกร้องของประชาชนได้หรือไม่ อย่างไร และ 2. มีความพึงพอพอจากผู้รับบริการหรือไม่ แนวทางการประเมิน ความสำเร็จของ การให้บริการสาธารณะ แนวทางแบบวัตถุวิสัย (Objective) - เน้นที่ผู้ให้บริการเป็นหลัก - มุ่งตอบคำถามที่สำคัญ 2 ประการ คือ 1. ระบบการให้บริการสาธารณะมี ประสิทธิภาพหรือไม่ 2. ระบบการให้บริการสาธารณะ มีประสิทธิผล หรือเป็นไปตามเป้าหมายหรือไม่

ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ของการให้บริการสาธารณะ ประสิทธิภาพของการให้บริการสาธารณะ เป็นการศึกษาในเชิงเปรียบเทียบระหว่างระหว่างปัจจัยนำเข้ากับผลผลิตของการให้บริการที่ออกมา เช่น การวัดประสิทธิภาพในรูปของระยะเวลาที่ให้บริการต่อประชาชนผู้รับบริการหนึ่งราย ประสิทธิผลของการให้บริการสาธารณะ เป็นการศึกษาผลงานการให้บริการที่เกิดขึ้นจริงเปรียบเทียบกับเกณ์มาตรฐาน ตัวชี้วัด และเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ แบ่งการประเมินออกได้เป็น 2 มิติที่สำคัญ คือ 1. ผลงานในเชิงปริมาณ (output quantity) 2. ผลงานในเชิงคุณภาพ (output quality)

การสร้างตัวชี้วัดความสำเร็จ ของการให้บริการสาธารณะ ตัวชี้วัดความสำเร็จของการให้บริการสาธารณะ หมายถึง ตัวบ่งชี้ที่นำมาใช้เป็นเครื่องมือในการวัดผลงานของการให้บริการสาธารณะที่เกิดขึ้น โดยนำมากำหนดเป้าหมายให้เป็นรูปธรรม เพื่อที่จะนำผลงานจริงที่เกิดขึ้นมาเปรียบเทียบกับเป้าหมายในตัวชี้วัดนั้น ตัวอย่างของตัวชี้วัดความสำเร็จของการให้บริการสาธารณะ เช่น - ร้อยละของความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ - จำนวนครั้งที่ถูกประชาชนร้องเรียน - จำนวนครั้งที่พบข้อผิดพลาดในการให้บริการแก่ ประชาชนผู้รับบริการ - ระยะเวลาให้บริการประชาชนแล้วเสร็จต่อราย

กรณีศึกษาการให้บริการสาธารณะในต่างประเทศ โครงการสัญญาประชาคม/โครงการความริเริ่มให้บริการมาก่อน (Service-First Initiative) ผู้รับบริการเป็นผู้กำหนดมาตรฐานของให้ผู้บริการ มีการกำหนดเป้าหมายหรือตัวชี้ของคุณภาพบริการให้ชัดเจน กรณีประเทศอังกฤษ ต้องการให้ระบบราชการมีลักษณะของการแข่งขันการ ให้บริการสาธารณะ (a competitive government) - ปรับคุณภาพของบริการสาธารณะให้ทัดเทียมกับคุณภาพ ของบริการของภาคเอกชนที่มีประสิทธิภาพ มีการนำตัวชี้วัดความพึงพอใจของลูกค้า (customer satisfaction) มาวัดผลงานในระบบ Balance Scorecard ให้การให้บริการต่อลูกค้าของรัฐบาลกลางมีมาตรฐาน เท่ากับการให้บริการที่ดีที่สุดของบริษัทในภาคธุรกิจเอกชน กรณีประเทศสหรัฐอเมริกา

กรณีศึกษา การให้บริการสาธารณะประเทศไทย 1. แรงกระตุ้นที่มาจากทางการเมือง 2. แรงกระตุ้นที่มาจากแนวคิดของ ระบบมาตรฐานคุณภาพ 3. แรงกระตุ้นที่มาจากภาคเอกชน 4. แรงกระตุ้นที่มาจากการมี ศาลปกครอง 5. แรงกระตุ้นจากการตื่นตัวของ การนำเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ การปรับปรุงการให้บริการสาธารณะที่เกิดขึ้นในประเทศไทย มาจากแรงกระตุ้นที่สำคัญ คือ