ว ความหนืด (Viscosity)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

สมดุลเคมี.
การเคลื่อนที่.
MTT 651: Polymer Rheology Polymer PROcessing and Flow (P-PROF) Group
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
(Impulse and Impulsive force)
กฎอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น (Law of Conservation of Linear Momentum)
ความเค้นสัมผัส (contact stress)
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
พื้นที่ผิวและปริมาตร
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
9.7 Magnetic boundary conditions
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
พลศาสตร์ในของไหล สมการการต่อเนื่อง สมการแบร์นูลลี การไหลที่มีความหนืด
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า Electric Current
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
Rheology and its application.
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
มิสกมลฉัตร อู่ศิริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระบบอนุภาค.
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
เมื่อนักคณิตศาสตร์เขียน 4! เครื่องหมายตกใจ
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
Introduction to Statics
พลังงานภายในระบบ.
Centrifugal Pump.
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
เรื่อง สมาร์ทคิดกับคณิตศาสตร์
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
ทรงกลม.
หน้า 1/6. หน้า 2/6 กำลัง หมายถึง อัตราการทำงาน หรือ สิ่งที่บ่งบอกว่า งานที่ทำในเวลานั้น ๆ มีมาก น้อยเพียงไร การคิดจะคล้ายกับงาน นั่นคือ ถ้า เมื่อไรก็ตาม.
กลศาสตร์ของไหล Fluid Mechanics
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ว 30202 ความหนืด (Viscosity) อ.กิติศักดิ์ บุญขำ สาขาวิชาฟิสิกส์ โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ์

ความหนืด (Viscosity) ของเหลวทุกชนิดมีความหนืด (viscosity) ของเหลวที่มีความหนืดมาก จะมีแรงต้านการเคลื่อนที่มาก เรียกว่า แรงหนืด (viscous force) แรงหนืดในของเหลวแต่ละชนิดมีค่าไม่เท่ากัน

ความหนืด (Viscosity) ของไหลอุดมคติ การไหลเป็นแบบสายกระแสไม่มีแรงเสียดทานระหว่างกระแส ชั้นของของไหลอุดมคติเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากันพนพื้นที่หน้าตัดเดียวกัน

ความหนืด (Viscosity) ของไหลที่มีความหนืด (viscous fluid) สมบัติของของไหลที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ เรียกว่า ความหนืด เมื่อมีวัตถุเคลื่อนที่ผ่านหรือเมื่อมันไหลผ่านวัตถุใด ๆ จะมีแรงเสียดทานกระทำต่อวัตถุโดยของไหลนั้น ๆ เสมอ แรงต้านการเคลื่อนที่ ที่เกิดจากการไหลเรียกว่า แรงหนืด (Viscous force)

ความหนืด (Viscosity) ตัวอย่างการไหลของของไหลที่มีความหนืด ของไหลที่มีความหนืดอยู่ระหว่างแผ่นระนาบสองแผ่น การไหลแบบนี้เรียกว่า laminar flow (การไหลแบบแผ่นบาง) ซึ่งจะเกิดแรงเสียดทานภายในระหว่างชั้นลามินา อัตราเร็วของของไหลแต่ละชั้นจะแตกต่างกัน ความเค้นเฉือนจะแปรผันตรงกับอัตราการเปลี่ยนแปลงความเครียด

ความหนืด (Viscosity) พิจารณาอัตราการเปลี่ยนแปลงความเครียด (rate of change of strain หรือ strain rate) อัตราการเปลี่ยนแปลงความเครียด นิยามของความหนืด คือ อัตราส่วนของความเค้นต่ออัตราการเปลี่ยนเปลี่ยนแปลงความเครียด ใช้อักษรกรีก แทนสัมประสิทธ์ของความหนืด (เรียกสั้น ๆ ว่า ความหนืด) จัดสมการใหม่ แรงที่ใช้ในการทำให้ของไหล ไหล ซึ่งแปรผันตรงกับอัตราเร็ว หน่วยเป็น N.s/m2 หรือ Pa.s

ความหนืด (Viscosity) กฎของปัวซอยย์ (Poiseuille’s Law) พิจารณาอัตราการไหล ของของไหลที่มีความหนืดในท่อทรงกระบอกที่มีพื้นที่หน้าตัดคงที่ อัตราการไหลมีค่ามากที่สุดตรงกลางท่อและอัตราเร็วเป็นศูนย์ที่ผนังท่อ

ความหนืด (Viscosity) กฎของปัวซอยย์ (Poiseuille’s Law) พิจารณาชั้นลามินาที่มีรัศมี r จากสมการ จะได้สมการที่บรรยายอัตราเร็วของการไหลที่ตำแหน่งต่าง ๆ บนหน้าตัดทรงกระบอก

ความหนืด (Viscosity) กฎของปัวซอยย์ (Poiseuille’s Law) เพื่อหาอัตราการไหล (volume flow rate) พิจารณาวงแหวนเล็ก ๆ ที่มีรัศมีภายใน r รัศมีภายนอก r+dr อัตราการไหล dV/dt จะมีค่าเป็น vdA อินทิเกรตจาก r = 0 ถึง r = R จะได้ อัตราการไหลแปรผกผันกับความหนืด อัตราการไหลแปรผันตรงกับกำลังสี่ของรัศมีของท่อ

ความหนืด (Viscosity) กฎของโต๊ก (Stokes’ Law) เมื่อของไหลที่มีความหนืดไหลผ่านวัตถุที่มีรูปร่างเป็นทรงกลม หรือวัตถุทรงกลมเคลื่อนที่ผ่านของไหลที่มีความหนืดที่อยู่นิ่ง จะมีแรงเสียดทานกระทำต่อวงกลม ดังนี้ ดาส

ความหนืด (Viscosity) กฎของโต๊ก (Stokes’ Law) เมื่อของไหลที่มีความหนืดไหลผ่านวัตถุที่มีรูปร่างเป็นทรงกลม หรือวัตถุทรงกลมเคลื่อนที่ผ่านของไหลที่มีความหนืดที่อยู่นิ่ง ดาส