ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สมดุลเคมี.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
อะตอมมิกออร์บิทัล (atomic orbital)
Electronic Transition
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
Ground State & Excited State
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. ในแต่คู่ต่อไปนี้ ไออนใดมีขนาดใหญ่กว่าและทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ก. N3- and F- ข. Mg2+ and Ca2+ ค. Fe2+ and Fe3+ ง. K+ and Li+
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
ทฤษฎีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล, MOT
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
พันธะเคมี Chemical bonding.
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
Mass Spectrum of three isotopes of neon.
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
Chemical Bonding I: Basic Concepts
พลังงานไอออไนเซชัน.
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ด รัทเทอร์ ฟอร์ด พบว่ ารังสี ส่วนใหญ่ ไม่ เบี่ยงเบน และส่วนน้อยทีเบี่ยงเบนนั้น ทํามุมเบี่ยงเบนใหญ่ มากบางส่วนยังเบี่ยงเบนกลับทิศทางเดิมด้วย.
Periodic Table.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
ชัยวัฒน์ เชื้อมั่ง เคมีไฟฟ้า.
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
แนวโน้มของตารางธาตุ.
Johann Dobereiner Johann Dobereiner จัดเรียงธาตุเป็นหมวดหมู่ โดยนำธาตุที่มีสมบัติคล้ายกันมาจัดไว้ในหมู่เดียวกัน หมู่ละ 3 ธาตุ เรียงตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก.
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
สารประกอบ.
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
พันธะเคมี.
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
มลภาวะ (pollution).
ว เคมีพื้นฐาน ตารางธาตุ
ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Element)
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
แบบจำลองอะตอมทอมสัน แบบจำลองอะตอมดอลตัน แบบจำลองอะตอมโบร์
Periodic Atomic Properties of the Elements
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
ตารางธาตุ.
ตารางธาตุ.
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
เลขออกซิเดชัน 5. ธาตุออกซิเจนในสารประกอบทั่วไปจะมีเลขออกซิเดชัน -2
X สัญลักษณ์นิวเคลียร์ A Z
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang

คำทำนายของ Dmitri Mendeleev (1869) Eka-Aluminum (Ea) Gallium (Ga) Atomic mass 68 amu 69.9 amu Melting point Low 30.15 oC Density 5.9 g/cm3 5.94 g/cm3 Formula of oxide Ea2O3 Ga2O3

ลำดับการค้นพบธาตุ

การจัดเรียงอิเล็กตรอนชั้นนอกสุดของธาตุ ns2np6 การจัดเรียงอิเล็กตรอนชั้นนอกสุดของธาตุ ns1 ns2np1 ns2np2 ns2np3 ns2np4 ns2np5 ns2 d10 d1 d5 4f 5f 8.2

การแบ่งประเภทของธาตุ 8.2

การจัดเรียงอิเล็กตรอนของแคทไอออนและแอนไอออน ของธาตุ Representative Na [Ne]3s1 Na+ [Ne] อะตอมสูญเสียอิเล็กตรอนเพื่อทำให้แคทไออออนมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเหมือนกับ Noble Gas. Ca [Ar]4s2 Ca2+ [Ar] Al [Ne]3s23p1 Al3+ [Ne] H 1s1 H- 1s2 or [He] อะตอมรับอิเล็กตรอนเพื่อทำให้แอนไอออนมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเหมือนกับ Noble Gas F 1s22s22p5 F- 1s22s22p6 or [Ne] O 1s22s22p4 O2- 1s22s22p6 or [Ne] N 1s22s22p3 N3- 1s22s22p6 or [Ne] 8.2

แคทไอออนและแอนไอออนของธาตุ Representative +1 +2 +3 -3 -2 -1 8.2

มีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากัน Na+: [Ne] Al3+: [Ne] F-: 1s22s22p6 or [Ne] O2-: 1s22s22p6 or [Ne] N3-: 1s22s22p6 or [Ne] Na+, Al3+, F-, O2-, และ N3- เป็น isoelectronic กับ Ne มีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากัน อะตอมของธาตุใด isoelectronic กับ H- ? He มี 2 อิเล็กตรอนเหมือน H- 8.2

การจัดเรียงอิเล็กตรอนของโลหะทรานสิชัน การเกิดแคทไอออนของธาตุทรานสิชันได้จากการดึงอิเล็กตรอนจากออร์บิทัล ns ก่อนแล้วจึงดึงออกจากออร์บิทัล (n-1)d เช่น Fe: [Ar]4s23d6 Fe2+: [Ar]4s03d6 or [Ar]3d6 Fe3+: [Ar]4s03d5 or [Ar]3d5 Mn: [Ar]4s23d5 Mn2+: [Ar]4s03d5 or [Ar]3d5 8.2

ธาตุชนิดหนึ่งมีเลขอะตอมเป็น 15 แสดงการจัดเรียงอิเล็กตรอนโดยไม่ดูตารางธาตุ ระบุว่าธาตุนี้เป็น paramagnetic หรือ diamagnetic และระบุประเภทของธาตุนี้ 15 อิเล็กตรอน: 1s2 2s2 2p6 3s2 3p3 p orbital ไม่เต็ม (มี 3 unpaired spin) เป็น paramagnetic เป็นธาตุ representative

Effective nuclear charge (Zeff) คือ ประจุบวกของนิวเคลียส ที่อิเล็กตรอนวงนอกสุดรับรู้ Zeff = Z - s 0 < s < Z (s = shielding constant) Zeff ~ Z – number of inner or core electrons Zeff Core Z Radius Na Mg Al Si 11 12 13 14 10 1 2 3 4 186 160 143 132 ในคาบเดียวกัน เมื่อ Zeff เพิ่ม รัศมีอะตอมลด 8.3

8.3

ขนาดอะตอม 8.3

เรียงลำดับรัศมีอะตอมของธาตุต่อไปนี้จากเล็กไปหาใหญ่ P, Si, N N < P < Si Li, C, Be, C < Be < Li Na, Al, P, Cl, Mg Cl < P < Al < Mg < Na

ขนาดไอออนเทียบกับขนาดอะตอม 8.3

แคทไอออน มีขนาด เล็กกว่า ขนาดอะตอมของมันเสมอ แอนไอออน มีขนาด ใหญ่กว่า ขนาดอะตอมของมันเสมอ 8.3

รัศมีของไอออน 8.3

ไอออนใดมีขนาดใหญ่กว่าในแต่ละคู่ต่อไปนี้ N3-, F- N3- Mg2+, Ca2+ Ca2+ Fe2+, Fe3+ Fe2+ O2-, Cl- Cl-

Ionization energy คือพลังงานที่น้อยที่สุด (kJ/mol) ที่ต้องใช้ในการดึงอิเล็กตรอนออกจากอะตอมที่สภาวะพื้น I1 first ionization energy I1 + X (g) X+(g) + e- I2 second ionization energy I2 + X (g) X2+(g) + e- I3 third ionization energy I3 + X (g) X3+(g) + e- I1 < I2 < I3 8.4

ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานไอออไนซ์ขั้นที่ 1 กับเลขอะตอม Filled n=1 shell Filled n=2 shell Filled n=3 shell Filled n=4 shell Filled n=5 shell 8.4

ธาตุใดต่อไปนี้มีค่า first ionization energy สูงกว่า Li, Be Be O, S O ธาตุใดต่อไปนี้มีค่า second ionization energy สูงกว่า Li Li, Be O, S O

แนวโน้มพลังงงานไอออไนซ์ขั้นที่ 1 First Ionization Energy เพิ่มขึ้น First Ionization Energy เพิ่มขึ้น 8.4

Electron affinity (EA) คือพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากการรับอิเล็กตรอนของอะตอมธาตุแล้วเกิดเป็นแอนไอออน ณ สถานะแก๊ส X (g) + e- X-(g) DH = -328 kJ/mol EA = +328 kJ/mol F (g) + e- X-(g) O (g) + e- O-(g) DH = -141 kJ/mol EA = +141 kJ/mol 8.5

ความสัมพันธ์ระหว่าง Electron affinity กับเลขอะตอม 8.5

ทำไมโลหะหมู่ 2A จึงรับอิเล็กตรอนได้ยากกว่าโลหะหมู่ 1A โลหะหมู่ 2A มีอิเล็กตรอนอยู่เต็ม subshell s แล้ว อิเล็กตรอนที่เข้ามาใหม่จะอยู่ห่างจากนิวเคลียสและถูก shield มากกว่า ในกรณีของโลหะหมู่ 1A ที่ยังมีที่ว่างใน subshell s ธาตุใดมีค่า electron affinity สูงกว่า Li, Na Li O, F F

ความสัมพันธ์แบบทะแยงมุม (diagonal relationships) 8.6

H (1S1) ไฮโดรเจนควรอยู่ที่ไหนในตารางธาตุ ? หมู่ 1A ? H H+ + e- ไฮโดรเจนควรจัดแยกเป็นประเภทของมันเอง

ธาตุใน Group 1A (ns1, n ไม่ต่ำกว่า 2) low ionization energy M M+1 + 1e- ทำปฏิกิริยากับน้ำได้ไฮดรอกไซด์เบส 2M(s) + 2H2O(l) 2MOH(aq) + H2(g) เกิดออกไซด์ได้ง่าย Li2O Na2O2 KO2 RbO2 CsO2 4M(s) + O2(g) 2M2O(s) Increasing reactivity 8.6

8.6

Group 2A Elements (ns2, n ไม่ต่ำกว่า 2) M M+2 + 2e- Be(s) + 2H2O(l) No Reaction Mg(s) + 2H2O(g) Mg(OH)2(aq) + H2(g) M(s) + 2H2O(l) M(OH)2(aq) + H2(g) M = Ca, Sr, or Ba Increasing reactivity 8.6

8.6

Group 3A Elements (ns2np1, n ไม่ต่ำกว่า 2) B เป็นกึ่งโลหะ 4Al(s) + 3O2(g) 2Al2O3(s) 2Al(s) + 6H+(aq) 2Al3+(aq) + 3H2(g) 8.6

8.6

Group 4A Elements (ns2np2, n ไม่ต่ำกว่า 2) ตัวอย่างออกไซด์: CO2, CO, SiO2 (oxidation No. 4 เสถียรกว่า 2) (oxidation No. 4 และ 2 เสถียรพอๆกัน) Sn(s) + 2H+(g) Sn2+(s) + H2 (g) (oxidation No. 2 เสถียรกว่า 4) Pb(s) + 2H+(aq) Pb2+(aq) + H2(g) 8.6

8.6

Group 5A Elements (ns2np3, n ไม่ต่ำกว่า 2) ตัวอย่างออกไซด์: N2O, NO2, N2O4, N2O5, P4O6, P4O10 N2O5(s) + H2O(l) 2 HNO3(aq) P4O10(s) + 6H2O(l) 4 H3PO4(aq) 8.6

8.6

Group 6A Elements (ns2np4, n ไม่ต่ำกว่า 2) ตัวอย่างออกไซด์: SO2, SO3 SO3(s) + H2O(l) H2SO4(aq) 8.6

8.6

Group 7A Elements (ns2np5, n ไม่ต่ำกว่า 2) X + 1e- X-1 X2(g) + H2(g) 2HX(g) Increasing reactivity 8.6

8.6

Group 8A Elements (ns2np6, n ไม่ต่ำกว่า 2) 8.6

8.6

8.6

สมบัติของสารประกอบออกไซด์ Na2O(s) + H2O(l) 2 NaOH(aq) MgO(s) + 2 HCl(aq) MgCl2(aq) + H2O(l) Al2O3(s) + 6 HCl(aq) 2 AlCl3(aq) + 3 H2O(l) Al2O3(s) + 2 NaOH(aq) + 3 H2O(l) 2 NaAl(OH)4(aq) SiO2(s) + 2 NaOH(aq) 2 Na2SiO3(aq) + H2O(l) P4O10 (s), SO3(g), Cl2O7 + H2O ? 8.6

สมบัติของสารประกอบออกไซด์ Na2O MgO Al2O3 SiO2 P4O10 SO3 Cl2O7 กรด-เบส เบส แอมโฟเทริก กรด ชนิดสารประกอบ ไอออนิก โคแวเลนต์ โครงสร้าง ร่างแห 3 มิติ โมเลกุล จุดหลอมเหลว (oC) 1275 2800 2045 1610 580 16.8 -91.5 จุดเดือด(oC) ? 3600 2980 2230 44.8 82 8.6