ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เคมีอินทรีย์ AOIJAI WICHAISIRI.
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
H จะเข้าที่ C ที่มี H มากกว่า และ X จะเข้าที่ C ที่มี H น้อยกว่า
sp Hybridization ของ HC CH (Acetylene)
sp3 Hybridization of CH3CH3 (Ethane)
Dynamic Properties: Static Properties: สมบัติของสถานะเร้า
sp3 Hybridization of CH4 (Methane)
โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
เมื่อสารดูดกลืนแสง มีการถ่ายเทประจุ (charge transfer) หรืออิเล็กตรอน
2.5 Field of a sheet of charge
Electrophilic Substitution of Benzene
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
Introduction to Probability เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ความน่าจะเป็นเบื้องต้น เรื่อง ความน่าจะเป็นเบื้องต้น อ.สุวัฒน์ ศรีโยธี สาขาวิชาคณิตศาสตร์
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
Molecular orbital theory : The ligand group orbital
Hybridization = mixing
เคมีอินทรีย์ บทนำ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
Intermolecular Forces
การศึกษารายกรณี.
พันธะเคมี Chemical bonding.
Chemical Bonding I: Basic Concepts
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
การนับเบื้องต้น Basic counting
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
Tanawat Attachaipanich M.5/5 MWIT 19
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
เคมี ม.6 ว30225 เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry)
กิจกรรมชุดที่ 11 สมดุลของคาน.
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
กิจกรรมชุดที่ 6 มาวัดแรงกันเถอะ Let’s go !.
ภาพที่เกิดจากเลนส์นูน
กิจกรรมชุดที่ 10 รู้จักแรงเสียดทาน.
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
การหักเหแสงของเลนส์นูนกับเลนส์เว้า
พันธะเคมี.
ว เคมีพื้นฐาน ธาตุแทรนสิชัน และสารประกอบเชิงซ้อน
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
พันธะโคเวเลนต์ พันธะเคมี ชุดที่2 อ.ศราวุทธ 11/18/2018.
พันธะเคมี (Chemical Bonding).
Concept behind VSEPR Molecular geometries Lecture 25: VSEPR
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ว 30131 เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี ว 30131 เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี รูปร่างโมเลกุล VSEPR นายศราวุทธ แสงอุไร ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ วันที่ 28 กรกฎาคม 2552 พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

• The Lewis Dot Structure สามารถบอกเราถึงพันธะภายใน VSEPR Background • The Lewis Dot Structure สามารถบอกเราถึงพันธะภายใน โมเลกุล แต่ไม่ได้บอกถึงลักษณะโรงสร้างทาง geometry? ความรู้เดิมที่เราทราบคือลักษณะของอิเล็กตรอนคู่ในโครงสร้างลิวอิสสามารถแบ่งได้เป็นสองลักษณะคือ electron pairs: bonding and lone. Valence Shell Electron Pair Repulsion (VSEPR). 3D structure is determined by minimizing repulsion of electron pairs. พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

• ในการพิจารณาแรงผลักระหว่าง bonding และ lone pairs VSEPR Background • ในการพิจารณาแรงผลักระหว่าง bonding และ lone pairs เพื่อให้ได้รูปร่างที่มีแรงผลักกันน้อยที่สุด Example: CH4 Lewis Structure VESPR Structure พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

• Example: NH3 (both bonding and lone pairs). VSEPR Background • Example: NH3 (both bonding and lone pairs). Lewis Structure VSEPR Structure พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

1. เขียนโครงสร้าง Lewis Dot Structure VSEPR Background • จากภาพตัวอย่างดังกล่าว เราจึงมีวิธีในการที่จะบอกรูปร่างของโมเลกุลสารได้ดังนี้ 1. เขียนโครงสร้าง Lewis Dot Structure 2. ปรับหรือจัดตำแหน่งของ bonding/lone electron pairs เพื่อให้ได้โครงสร้างที่มีแรงผลักระหว่างอิเล็กตรอนน้อยที่สุด space such that repulsions are minimized. พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

การทดลองเรื่อง การจัดตัวของลูกโป่งกับรูปร่างโมเลกุล การทดลองเรื่อง การจัดตัวของลูกโป่งกับรูปร่างโมเลกุล จุดประสงค์ 1. สำรวจตรวจสอบการจัดตัวของลูกโป่งกับรูปร่างโมเลกุลได้ 2. อธิบายเปรียบเทียบการจัดตัวของลูกโป่งกับรูปร่างโมเลกุลรูปทรงต่างๆได้ การปฏิบัติงาน 1. เป่าลูกโป่ง 6 ลูกให้มีขนาดเท่า ๆ กัน ผูกขั้วไว้ให้แน่น 2. ผูกลูกโป่งที่เป่าแล้วเข้าด้วยกัน 2 ลูก สังเกตรูปร่างและทิศทางของลูกโป่ง บันทึกผล ผูกลูกโป่งเพิ่มขึ้นเป็น 3 , 4 , 5 และ 6 ลูก โดยเพิ่มที่ละลูกตามลำดับ สังเกตรูปร่างและทิศทาง บันทึกผล พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

• Linear Structures: มุมระหว่างพันธะคือ 180° VSEPR Background • Linear Structures: มุมระหว่างพันธะคือ 180° • Example: BeF2 180° พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

• Trigonal Planar Structures: มุมระหว่างพันธะคือ 120° VSEPR Background • Trigonal Planar Structures: มุมระหว่างพันธะคือ 120° • Example: BF3 120° พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

• Tetrahedral: Any (and every) HCH มุมระหว่าง พันธะคือ ~109.5° VSEPR Background • Tetrahedral: Any (and every) HCH มุมระหว่าง พันธะคือ ~109.5° • Example: CH4 109.5° พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Takes up more space than a bonding pair. VSEPR Background • Tetrahedral: ทุกพันธะจะทำมุมกัน 109.5° (exactly) ลักษณะและความแตกต่างของความหนาแน่นของ bonding and lone pair electron (implies orbitals).ส่งผลให้มุมต่างไป bonding pair lone pair Takes up more space than a bonding pair. พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

• Pyramidal: Bond angles are <109.5°, and structure VSEPR Background • Pyramidal: Bond angles are <109.5°, and structure is nonplanar:ที่มี Lone pair ที่อะตอมกลาง 1คู่ • Example: NH3 107° พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

VSEPR: Tetrahedral • ตัวอย่างรูปร่างโมเลกุลที่เปลี่ยนไปของ tetrahedral : จากรูปร่าง tetrahedral (109.5°) เทียบกับโมเลกุงของน้ำ: พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

VSEPR Comparison of CH4, NH3, and H2O Tetrahedral (trigonal) pyramidal bent The molecules are not tetrahedral (only CH4 is); พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

VSEPR shape (PCl5) • Trigonal Bipyramidal, 120° in plane, and two orbitals at 90° to plane: • Example, PCl5: 90° 120° พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

VSEPR and Octahedral Shape • Octahedral: all angles are 90°: • Example, SCl6: 90° พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Advanced VSEPR • Square Planar versus “See Saw” See Saw Square Planar No dipole moment พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Advanced VSEPR • Driving force for last structure was to maximize the angular separation of the lone pairs. Lone Pairs need to have more room and be further from other pairs than bonding pairs. พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Advanced VSEPR Applications • VESPR and resonance structures. Must look at VESPR structures for all resonance species to predict molecular properties. พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

VSEPR Provide the Lewis dot and VESPR structures for CF2Cl2. Does it have a dipole moment? 32 e- Tetrahedral พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

VSEPR and more molecules พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

VSEPR and more molecules ในการเขียนสัญลักษณ์ของรูปร่างโมเลกุล ให้ A คือจำนวนอะตอมกลาง ให้ X คือจำนวนกลุ่มอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะรอบ ให้ E คือจำนวนกลุ่มอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลาง อะตอมกลาง พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

จำนวนกลุ่มอิเล็กตรอนรอบอะตอมกลาง รูปร่าง/สัญลักษณ์ 2 3 AX2E 4 AX3E AX2E2 พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

จำนวนกลุ่มอิเล็กตรอนรอบอะตอมกลาง รูปร่าง สัญลักษณ์ 5 6 พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

VSEPR and more molecules ให้นักเรียนเขียนรูปร่างของโมเลกุลต่อไปนี้ SO2 พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

แหล่งอ้างอิง Martin S. Silberberg, Chemistry: The Molecular Nature of Matter and Change, McGraw-Hill Higher Education, 2004 Raymond Chang, Chemistry, Williams College, McGraw-Hill Higher Education, 2002 พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร