รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำสั่งควบคุมในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
BC320 Introduction to Computer Programming
Department of Computer Business
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอกกาลิทึม
CS Assembly Language Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Microsoft Excel 2007.
บทที่ 2 Operator and Expression
Adv. Access.
บทที่ 5 คำสั่งแบบมีเงื่อนไข Conditional Statements
โครงสร้างควบคุม 1. โครงสร้างควบคุมแบบวนทางเลือก
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
ระบบเลข และการแทนรหัสข้อมูล
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
อสมการ (Inequalities)
ทบทวนอสมการกำลัง1. ทบทวนอสมการกำลัง1 การหาเซตคำตอบของอสมการ ตัวอย่าง.
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ตัวดำเนินการ(Operator)
Chapter 3 เครื่องหมายและการคำนวณ
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
รายงาน เรื่อง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน
ง40208 การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
นิพจน์และตัวดำเนินการ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ตัวดำเนินการในภาษาซี
บทที่ 4 การใช้ตัวดำเนินการ
การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
Week 10 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น #2
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
การดำเนินการ เศษส่วน โดยนางสาวอรวรรณ สวัสดิ์ โรงเรียนวัดหาดส้มแป้น
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
ชนิดของข้อมูลแบบพื้นฐาน 1. จํ านวนเต็ม (Integer Data Type) 2. จํ านวนจริง (Real Data Type) 3. ตัวอักขระ (Character Data Type) 4. ตรรกศาสตร ? (Boolean.
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
L/O/G/O นิพจน์และตัว ดำเนินการ. วัตถุประสงค์ สามารถสร้างนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ได้อย่าง ถูกต้อง อธิบายรายละเอียดของชนิดตัวดำเนินการต่าง.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
เศษส่วนของพหุนาม การทำให้อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่ำ
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงาน
CHAPTER 2 Operators.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น หน่วยที่ 5 ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ เรื่อง ตัวดำเนินการ รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น

ตัวดำเนินการ การเขียนโปรแกรมอย่างใด อย่างหนึ่ง จำเป็นต้องใช้ตัวดำเนินการอยู่เสมอ ตัวดำเนินการที่ควรรู้จักมี 6 ชนิด ดังนี้ ตัวดำเนินการกำหนดค่า ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ ตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ ตัวดำเนินการยูนารี ตัวดำเนินการระดับบิต

ตัวดำเนินการกำหนดค่า ความหมาย ตัวอย่าง = กำหนดค่า A=5;

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ความหมาย ตัวอย่าง + += - -= * / % การบวก การบวกแบบลดรูป การลบ การลบแบบลดรูป การคูณ การหารเอาผล การหารเอาเศษ A+B; A+=B; A-B; A-=B; A*B; A/B A%B

ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ ความหมาย ตัวอย่าง < <= > >= == != น้อยกว่า น้อยกว่าหรือเท่ากับ มากกว่า มากกว่าหรือเท่ากับ เท่ากับ ไม่เท่ากับ A<B A<+B A>B A>=B A==B A!=B

ตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ ความหมาย ตัวอย่าง && || ! และ หรือ ไม่ A&&B A | | B !A

ตัวดำเนินการยูนารี ตัวดำเนินการ ความหมาย ตัวอย่าง ++ -- เพิ่มค่าก่อนใช้งาน เพิ่มค่าหลังใช้งาน ลดค่าก่อนใช้งาน ลดค่าหลังใช้งาน ++A A++ --A A--

ตัวดำเนินการระดับบิต ความหมาย ตัวอย่าง & | ^ ~ >> << AND OR XOR ตรงกันข้าม เลื่อนบิตไปทางขวา เลื่อนบิตไปทางซ้าย A&B A | B A^B A~B A>> A<<