ที่มาและความสำคัญของโครงงาน การทำนาหว่านน้ำตม
การทำนาดำโดยใช้คนดำ
การทำนาดำโดยใช้เครื่องดำ
การทำนาโยน
ตารางเปรียบเทียบปัจจัยการทำนาแบบต่างๆ
อัตราการใช้เมล็ด 10 กก./ไร่ อัตราการทำงาน 5 ไร่/วัน ข้อดี - กำหนดระยะห่างระหว่างแถวได้ - ลดการใช้เมล็ดพันธุ์ ข้อเสีย - เกิดความเมื่อยล้า - ติดหล่ม - มีดินโคลนไปอุดทางไหลของเมล็ด โรย 8 แถว/ครั้ง อัตราการใช้เมล็ด 10 กก./ไร่ อัตราการทำงาน 5 ไร่/วัน
โรย 8 แถว/ครั้ง อัตราการใช้เมล็ด 10 กก./ไร่ อัตราการทำงาน 10 ไร่/วัน ข้อดี - กำหนดระยะห่างระหว่างแถวได้ - ลดการใช้เมล็ดพันธุ์ - ลดความเมื่อยล้า ข้อเสีย - บางครั้งติดหล่มและมีดินโคลนไปอุดทางไหลของเมล็ดทำให้การโรยไม่ต่อเนื่อง -ใช้ต่อพ่วงรถไถเดินตามรุ่นเก่า โรย 8 แถว/ครั้ง อัตราการใช้เมล็ด 10 กก./ไร่ อัตราการทำงาน 10 ไร่/วัน
ใช้เครื่องยนต์เบนซิน 6 แรงม้า ข้อดี - หยอดเป็นแถว - ทำงานในหล่มได้ - น้ำหนักเบา ข้อเสีย - ไม่สามารถปรับระยะห่างระหว่างแถวได้ หยอด 5 แถว/ครั้ง อัตราการใช้เมล็ด 15-18 กก./ไร่ อัตราการทำงาน 12-16 ไร่/วัน
วัตถุประสงค์ของโครงงาน ออกแบบและสร้างเครื่องโรยเมล็ดข้าวงอกแบบแถว ทดสอบหาสมรรถนะและประสิทธิภาพของเครื่อง โรยเมล็ดข้าวงอกแบบแถว ขอบเขตของโครงงาน ออกแบบสร้างและทดสอบเครื่องโรยเมล็ดข้าวงอกแบบแถว เป็นอุปกรณ์ต่อพ่วงกับรถไถเดินตาม ใช้สำหรับปลูกข้าวในพื้นที่นาน้ำตม ลักษณะการทำงานของเครื่องจะทำการโรยข้าวงอกให้เป็นแถว ใช้เมล็ดข้าวพันธุ์ พิษณุโลก 2 ทดสอบ
ขั้นตอนการดำเนินงานและแผนปฏิบัติงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้เครื่องโรยเมล็ดข้าวงอกแบบแถวต้นแบบ ลดปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ลดระยะเวลาในการปลูก การซ่อมบำรุงดูแลรักษาง่าย ปรับระยะห่างระหว่างแถวได้