Prevalence rate ของผู้ป่วย Abortion

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Advertisements

การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การศึกษาการใช้ Tienam ในผู้ป่วยโรคติดเชื้อภายในโรงพยาบาล
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การหาความเที่ยงของการจำแนกประเภท ผู้ป่วยด้วยระบบ IRR Testing
การประเมินและวิเคราะห์หลักฐาน อรพรรณ โตสิงห์ คณะพยาบาลศาสตร์ ม มหิดล
กลุ่ม ๕.
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตในจังหวัดพิษณุโลก
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัดในผู้ป่วยที่มาใช้บริการโดยการผ่าตัด ที่ห้องผ่าตัดใหญ่ รพ. พุทธชินราช โดย นสพ. ณัฐกานต์ ตาบุตรวงศ์
งานวิจัยทางคลินิก เรื่อง : ความน่าเชื่อถือของระดับ Serum PSA ในการตรวจหา มะเร็งต่อมลูกหมากเปรียบเทียบกับผลการตรวจชิ้นเนื้อ ต่อมลูกหมาก ( PROSTATE.
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการคลินิกพิเศษ โรงพยาบาลพุทธชินราช
หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การประเมินภาวะการใช้ยา Ceftazidime และ Imipenem
ภาวะแทรกซ้อนของการรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ที่ได้รับการรักษาโดยวิธีทดแทนไต ในโรงพยาบาลพุทธ- ชินราช ในช่วงปี ม.ค ธ.ค 2544 Complications.
ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยใน ICUติด LRI จาก ICU ของโรงพยาบาลพุทธชินราช
การศึกษาผลการดำเนินงานคลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลพุทธชินราช
หัวข้อเรื่อง การทบทวนการรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกี
RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP.
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
Management Information Systems
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
การทำรายงานสรุปคุณภาพน้ำประจำปี
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การเขียนโครงร่างการวิจัย
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
การศึกษาอัตราการเกิดอุบัติเหตุฯ ระหว่าง ปฎิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุขของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
เอกสารแนบท้าย 3 CONCEPT PAPER เรื่อง ชื่อนิสิต สาขา/แขนง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา หมายเหตุ นำเสนอ 10 นาทีให้ใช้ไม่เกิน 10 สไลด์เท่านั้น.
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
การเขียนรายงานการวิจัย
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การเขียนข้อเสนอโครงการ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Prevalence rate ของผู้ป่วย Abortion ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช ปี พ.ศ.2542-2544

หลักการและเหตุผล จากการฝึกปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม ของโรงพยาบาลพุทธชินราช และจากการศึกษางานวิจัยเรื่อง “แนวโน้มของผู้ป่วยที่ทำแท้งโดยผิดกฏหมาย ปี พ.ศ.2539-2542” ซึ่งจัดทำโดย กิ่งมณี กองเงิน และคณะ นิสิตคณะแพทยศาสตร์ ม.นเรศวร พบว่าปัญหาการทำแท้งยังคงเป็นปัญหาสำคัญในการดูแลรักษาผู้ป่วยในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม ดังนั้น การทราบอัตราความชุก สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะ abortion ช่วงอายุ ช่วงเวลา อายุครรภ์ หรือกลุ่มอาชีพ ก็อาจเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยป้องกันและลดภาวะ abortion ที่เกิดขึ้นได้

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อทำการศึกษาอัตราความชุกของผู้ป่วย abortion ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542-2544 2. เพื่อทำการสำรวจช่วงอายุ ช่วงเวลา อายุครรภ์ กลุ่มอาชีพ สาเหตุและปัจจัยต่างๆ ที่มีผลก่อให้เกิด abortion ในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช พ.ศ.2542-2544

คำถามวิจัย คำถามหลัก อัตราความชุก (prevalence rate) ของผู้ป่วย abortion ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช ระหว่างปีพ.ศ.2542-2544 มีค่าเท่าไร ?

คำถามวิจัย คำถามรอง ช่วงอายุของผู้ป่วย abortion ในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาล พุทธชินราช สามารถพบได้ในช่วงอายุใดมากที่สุด ? จากการศึกษาภาวะ abortion มักพบในกลุ่มอาชีพใด ? สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะ abortion มีสาเหตุใดได้บ้าง ? ช่วงเวลาใดของแต่ละปีที่ทำการศึกษา (พ.ศ.2542-2544) ที่พบว่ามีภาวะ abortion เกิดขึ้นได้มากที่สุด

ทบทวนวรรณกรรม Abortion in the developing world. press release WHO, 17 May 1999. I.H. Shah, H. von Hertzen, E. Ahman, P.S. Fajans, H. Bathija, S. Mpanda, J. Cottingham, K.M. Yount, S. Jejeebhoy and E. Ezcurra. Unsafe abortion. Annual technical report, 1999.

กรอบแนวคิดการวิจัย อายุครรภ์ สาเหตุ ช่วงเวลา กลุ่มอายุ ผู้ป่วย abortion ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช อาชีพ / 1000 live births Prevalence rate

ระเบียบวิธีวิจัย กลุ่มเป้าหมาย : ผู้ป่วย abortion ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช นิยามศัพท์ : Abortion : < 28 weeks of gestational period ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง : ผู้ป่วย abortion ทั้งหมดที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช ระหว่างปีพ.ศ.2542-2544 รูปแบบการวิจัย : Retrospective Descriptive Study

ระเบียบวิธีวิจัย เครื่องมือในการวิจัย : Chart reviewed ตัวแปรของงานวิจัย : ตัวแปรต้น : ผู้ป่วย abortion ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช ตัวแปรตาม : อัตราความชุก, สาเหตุ, กลุ่มอายุ, ช่วงเวลา, อายุครรภ์, อาชีพ, ภาวะแทรกซ้อน ข้อจำกัดในงานวิจัย : Omission / Imprecision of Record data ผู้ป่วย abortion อาจไม่ได้มารับการรักษาที่โรงพยาบาลพุทธชินราชทั้งหมด ค่า prevalence rate ที่ได้จึงอาจจะต่ำกว่าความเป็นจริง

การวิเคราะห์ข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูล Microsoft Excel

Prevalence rate ของผู้ป่วย abortion ในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม จำแนกในแต่ละช่วงปี ตั้งแต่ พ.ศ.2542-2544

จำนวนผู้ป่วยในแต่ละกลุ่มอายุที่มาเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม จำแนกในแต่ละช่วงปี ตั้งแต่ พ.ศ.2542-2544

จำนวนผู้ป่วยในแต่ละอายุครรภ์ที่มาเข้ารับ การรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม จำแนกในแต่ละช่วงปี ตั้งแต่ พ.ศ.2542-2544

จำนวนผู้ป่วยในแต่ละเดือนที่มาเข้ารับการรักษา ในหอผู้ป่วย นรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช จำแนกในแต่ละ ช่วงปี พ.ศ.2542-2544

จำนวนผู้ป่วยในแต่ละกลุ่มอาชีพที่มาเข้ารับ การรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม จำแนกในแต่ละช่วงปี ตั้งแต่ พ.ศ.2542-2544

จำนวนผู้ป่วยจำแนกตามสาเหตุในการเกิด abortion ที่มาเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช ในแต่ละช่วงปี พ.ศ.2542-2544

วิจารณ์ Prevalence rate กลุ่มอายุ 16-20 ปี พ.ศ.2542 - - 68.29 พ.ศ.2543 - - 72.87 พ.ศ.2544 - - 65.49 กลุ่มอายุ 16-20 ปี ช่วงอายุครรภ์ 5-8 สัปดาห์ และ 9-12 สัปดาห์ ช่วงระหว่างเดือนมีนาคม – พฤษภาคม อาชีพรับจ้าง, นักเรียน/นักศึกษา รักษาเกิดจากcriminal abortion มากที่สุด และกระทำโดยใช้วิธีการ Suction มากที่สุด

สรุป จากการศึกษาวิจัยพบปัญหา abortion เป็นปัญหาสำคัญของสตรีวัยเจริญพันธุ์ประการหนึ่ง ดังนั้นหลังจากทำการศึกษานี้แล้ว ผลการศึกษานี้น่าจะช่วยให้มีการปรับปรุงในด้านการบริการให้คำแนะนำและคำปรึกษาที่เหมาะสมเกี่ยวกับการวางแผนครอบครัว (family planing) ซึ่งจะช่วยให้แนวโน้มของอัตราความชุกจากภาวะ abortion ลดลงได้อย่างมีนัยสำคัญ

THE END