Prevalence rate ของผู้ป่วย Abortion ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช ปี พ.ศ.2542-2544
หลักการและเหตุผล จากการฝึกปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม ของโรงพยาบาลพุทธชินราช และจากการศึกษางานวิจัยเรื่อง “แนวโน้มของผู้ป่วยที่ทำแท้งโดยผิดกฏหมาย ปี พ.ศ.2539-2542” ซึ่งจัดทำโดย กิ่งมณี กองเงิน และคณะ นิสิตคณะแพทยศาสตร์ ม.นเรศวร พบว่าปัญหาการทำแท้งยังคงเป็นปัญหาสำคัญในการดูแลรักษาผู้ป่วยในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม ดังนั้น การทราบอัตราความชุก สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะ abortion ช่วงอายุ ช่วงเวลา อายุครรภ์ หรือกลุ่มอาชีพ ก็อาจเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยป้องกันและลดภาวะ abortion ที่เกิดขึ้นได้
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อทำการศึกษาอัตราความชุกของผู้ป่วย abortion ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542-2544 2. เพื่อทำการสำรวจช่วงอายุ ช่วงเวลา อายุครรภ์ กลุ่มอาชีพ สาเหตุและปัจจัยต่างๆ ที่มีผลก่อให้เกิด abortion ในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช พ.ศ.2542-2544
คำถามวิจัย คำถามหลัก อัตราความชุก (prevalence rate) ของผู้ป่วย abortion ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช ระหว่างปีพ.ศ.2542-2544 มีค่าเท่าไร ?
คำถามวิจัย คำถามรอง ช่วงอายุของผู้ป่วย abortion ในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาล พุทธชินราช สามารถพบได้ในช่วงอายุใดมากที่สุด ? จากการศึกษาภาวะ abortion มักพบในกลุ่มอาชีพใด ? สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะ abortion มีสาเหตุใดได้บ้าง ? ช่วงเวลาใดของแต่ละปีที่ทำการศึกษา (พ.ศ.2542-2544) ที่พบว่ามีภาวะ abortion เกิดขึ้นได้มากที่สุด
ทบทวนวรรณกรรม Abortion in the developing world. press release WHO, 17 May 1999. I.H. Shah, H. von Hertzen, E. Ahman, P.S. Fajans, H. Bathija, S. Mpanda, J. Cottingham, K.M. Yount, S. Jejeebhoy and E. Ezcurra. Unsafe abortion. Annual technical report, 1999.
กรอบแนวคิดการวิจัย อายุครรภ์ สาเหตุ ช่วงเวลา กลุ่มอายุ ผู้ป่วย abortion ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช อาชีพ / 1000 live births Prevalence rate
ระเบียบวิธีวิจัย กลุ่มเป้าหมาย : ผู้ป่วย abortion ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช นิยามศัพท์ : Abortion : < 28 weeks of gestational period ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง : ผู้ป่วย abortion ทั้งหมดที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช ระหว่างปีพ.ศ.2542-2544 รูปแบบการวิจัย : Retrospective Descriptive Study
ระเบียบวิธีวิจัย เครื่องมือในการวิจัย : Chart reviewed ตัวแปรของงานวิจัย : ตัวแปรต้น : ผู้ป่วย abortion ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช ตัวแปรตาม : อัตราความชุก, สาเหตุ, กลุ่มอายุ, ช่วงเวลา, อายุครรภ์, อาชีพ, ภาวะแทรกซ้อน ข้อจำกัดในงานวิจัย : Omission / Imprecision of Record data ผู้ป่วย abortion อาจไม่ได้มารับการรักษาที่โรงพยาบาลพุทธชินราชทั้งหมด ค่า prevalence rate ที่ได้จึงอาจจะต่ำกว่าความเป็นจริง
การวิเคราะห์ข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูล Microsoft Excel
Prevalence rate ของผู้ป่วย abortion ในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม จำแนกในแต่ละช่วงปี ตั้งแต่ พ.ศ.2542-2544
จำนวนผู้ป่วยในแต่ละกลุ่มอายุที่มาเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม จำแนกในแต่ละช่วงปี ตั้งแต่ พ.ศ.2542-2544
จำนวนผู้ป่วยในแต่ละอายุครรภ์ที่มาเข้ารับ การรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม จำแนกในแต่ละช่วงปี ตั้งแต่ พ.ศ.2542-2544
จำนวนผู้ป่วยในแต่ละเดือนที่มาเข้ารับการรักษา ในหอผู้ป่วย นรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช จำแนกในแต่ละ ช่วงปี พ.ศ.2542-2544
จำนวนผู้ป่วยในแต่ละกลุ่มอาชีพที่มาเข้ารับ การรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม จำแนกในแต่ละช่วงปี ตั้งแต่ พ.ศ.2542-2544
จำนวนผู้ป่วยจำแนกตามสาเหตุในการเกิด abortion ที่มาเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม โรงพยาบาลพุทธชินราช ในแต่ละช่วงปี พ.ศ.2542-2544
วิจารณ์ Prevalence rate กลุ่มอายุ 16-20 ปี พ.ศ.2542 - - 68.29 พ.ศ.2543 - - 72.87 พ.ศ.2544 - - 65.49 กลุ่มอายุ 16-20 ปี ช่วงอายุครรภ์ 5-8 สัปดาห์ และ 9-12 สัปดาห์ ช่วงระหว่างเดือนมีนาคม – พฤษภาคม อาชีพรับจ้าง, นักเรียน/นักศึกษา รักษาเกิดจากcriminal abortion มากที่สุด และกระทำโดยใช้วิธีการ Suction มากที่สุด
สรุป จากการศึกษาวิจัยพบปัญหา abortion เป็นปัญหาสำคัญของสตรีวัยเจริญพันธุ์ประการหนึ่ง ดังนั้นหลังจากทำการศึกษานี้แล้ว ผลการศึกษานี้น่าจะช่วยให้มีการปรับปรุงในด้านการบริการให้คำแนะนำและคำปรึกษาที่เหมาะสมเกี่ยวกับการวางแผนครอบครัว (family planing) ซึ่งจะช่วยให้แนวโน้มของอัตราความชุกจากภาวะ abortion ลดลงได้อย่างมีนัยสำคัญ
THE END