การจัดหมวดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฐานข้อมูลเพื่อการค้นคว้าวิจัย สาขาศิลปศาสตร์และมนุษยศาสตร์ : กรณีตัวอย่างคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย สุปริญา ลุลิตานนท์ ศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์(ห้องสมุด)
Advertisements

ดวงจันทร์ พยัคพันธุ์ ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรการศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม พ.ศ.2548
JSTOR Archive Collections JSTOR Archive Collections
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
เว็บไซต์ สาขา สารสนเทศศาสตร์
Online Public Access Catalog
การจัดเรียงหนังสือบนชั้น
ประเภทของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย(ThaiLIS)
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
การเตรียมข้อมูลสำหรับจัดซื้อหนังสือ
การบริหารงานของห้องสมุด
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา SOHU 0022 Information Literary
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy
รหัสวิชา SOHU 0022 Using Information Systems
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy ครั้งที่ 10 หนังสืออ้างอิง
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 26/02/53 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
แนะนำการใช้ฐานข้อมูล LexisNexis
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL) การใช้งานฐานข้อมูล โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 22/04/54.
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 23/04/54 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
หนังสืออ้างอิง.
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 10/09/53 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด ในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 2547
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
นางสาว จิตราภรณ์ แสนสิทธิ์
ฐานข้อมูล Science Direct
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในงานศูนย์สนเทศภาคเหนือ
การสืบค้นสารนิเทศInformation Retrieval
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 21/04/54 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
ค้นเจอหนังสือที่ต้องการ ใน library catalog
TU Library Catalog.
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
เลขหมู่และการจัดเรียงบนชั้น
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
Knovel E-Books Database.
หัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
หนังสือที่ให้เรื่องราว ข้อเท็จจริง ต่าง ๆ มีการเรียงลำดับ อย่างเป็นระบบ และมี เครื่องมือช่วยค้นที่ดี ทำ ให้สะดวก และรวดเร็วในการค้น.
Wiley Online Library. Wiley Online Library Wiley Online Library เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ รวบรวมวารสารมากกว่า 800 รายชื่อ ครอบคลุมสาขาวิชาทางด้าน.
ScienceDirec t จัดทำโดย ปทุมทิพย์ ลิ้มพงศานุ รักษ์
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
 ฐานข้อมูลวารสารวิชาการครอบคลุมเนื้อหา ทั้งในสาขาวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์  ผู้ใช้สามารถสืบค้นได้ตั้งแต่วารสารปีปัจจุบัน.
การจัดเรียงหนังสือบนชั้น (Shelving)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดหมวดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน Library of Congress Classification พรทิพย์ อาจวิชัย 14 ส.ค. 56

การจัดหมวดหมู่ การจัดหมวดหมู่ หรือ การวิเคราะห์หนังสือ มาจากคำว่า Book Classification คือ การนำเอาทรัพยากรที่มีอยู่มาจัดแยกประเภทของแต่ละสาขาวิชาอย่างกว้าง ๆ โดยหนังสือที่มีเนื้อหาแบบเดียวกันจัดเอาไว้ด้วยกัน เนื้อหาใกล้เคียงกันเอาไว้ด้วยกัน รวมถึงหนังสือที่มีลักษณะการประพันธ์แบบเดียวกัน จัดกลุ่มไว้ด้วยกัน

ประโยชน์ของการจัดหมวดหมู่ เพื่อพิจารณาแยกและหนังสือตามเนื้อหาวิชา เพื่อสะดวกในการจัดเรียงและค้นหาข้อมูล หนังสือที่มีเนื้อหาสาระอย่างเดียวกันรวมอยู่ด้วยกัน เพื่อควบคุมทรัพยากรสารสนเทศให้สมดุลในสาขาวิชาต่าง ๆ

ประเภทระบบการจัดหมวดหมู่ ระบบเอ็กแพนซีฟ: Expansive Classification (EC) ระบบทศนิยมสากล: Universal Decimal Classification (UDC) ระบบซับเจค: Subject Classification (SC) ระบบทศนิยมดิวอี้: Dewey Decimal Classification (DDC) ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน: Library of Congress Classification (LC) ระบบโคลอน: Colon Classification (CC) ระบบบรรณานุกรม: Bibliographic Classification (BC)

Library of Congress

ประวัติการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ค.ศ.1800 จัดตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดยใช้ระบบจัดแยกหนังสือตามขนาด แล้วเรียงตามเลขทะเบียน ค.ศ.1812 จัดเรียงตามเนื้อหาคล้ายกับระบบของเบคอน และ ดาลอมแบร์ ซึ่งใช้ในห้องสมุดฟิลาเดเฟีย ของเบนจามิน แฟลงคลิน โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ มี 18 หมวด

ค.ศ.1814 ทหารอังกฤษเผาเมืองหลวง หนังสือในหอสมุดรัฐสภาอเมริกันถูกไฟไหม้ ค.ศ.1815 ประธานาธิบดี โธมัส เจฟเฟอร์สัน ขายหนังสือในห้องสมุดส่วนตัวกว่า 6000 เล่มให้แก่หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ซึ่งจัดหมวดหมู่แล้ว ตามระบบของเบคอนและดาลอมแบร์ และ ใช้มาจนถึงปลายศตวรรษที่ 19 ค.ศ.1846 กฎหมายลิขสิทธิ์กำหนดให้ผู้พิมพ์และสำนักพิมพ์ต่าง ๆ ส่งสิ่งพิมพ์ให้หอสมุด ทำให้มีจำนวนหนังสือเพิ่มขึ้นเป็นล้านเล่ม

ค.ศ.1897 ขยายหอสมุดและเปิดให้ประชาชนเข้าใช้ จอห์น รัสเซ็ลล์ ยังก์ เสนอให้ศึกษาระบบการจัดหมวดหมู่แบบใหม่ เนื่องจากของเดิมไม่สามารถรองรับจำนวนหนังสือที่เพิ่มขึ้นได้ ค.ศ.1899 เฮอร์เบอร์ต พุทนัม สนับสนุนให้มีการศึกษาระบบ Expansive Classification อย่างจริงจังและเป็นการเริ่มต้นของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันที่ใช้กันในปัจจุบัน

หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ปัจจุบันเป็นหอสมุดที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบไปด้วย 3 อาคาร มีพื้นที่ประมาณ 2,614,000 ตรม. มีทรัพยากรสารสนเทศทุกรูปแบบจากทั่วโลกกว่า 460 ภาษา มีทรัพยากรประมาณ 140 ล้านรายการ มีบุคลากรประจำหอสมุดประมาณ 4085 คน มีทรัพยากรที่ได้รับบริจาคและจัดซื้อ เฉลี่ยวันละประมาณ 22,000 รายการ

ลักษณะพิเศษของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน การแบ่งหมวดหมู่หนังสือเป็นไปตามหลักปฏิบัติ (Practical system) เนื่องจากเกิดจากการปฏิบัติจริงของบรรณารักษ์ฝ่ายวิเคราะห์หมวดหมู่ ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว เป็นการเรียงลำดับหมวดหมู่หนังสือตามความเหมาะสมในแต่ละสาขาวิชาดังนั้นในหมวดย่อยจึงมีการแบ่งมากบ้างน้อยบ้าง มีคู่มือของระบบมีลักษณะเป็นหนังสือชุด เนื่องจากการสร้างระบบแบ่งความรับผิดชอบให้ผู้เชี่ยวชาญแต่ละหมวดจัดทำเลขหมู่

สัญลักษณ์และลักษณะของระบบ LC เป็นสัญลักษณ์ผสม (mixed notation) มี 21 หมวด ประกอบด้วยอักษร A-Z ยกเว้น I O W X Y แบ่งเนื้อหาย่อยโดยใช้เลข 1 - 9999 แต่ละหมวดแยกการพิมพ์และการใช้โดยอิสระ บางหมวดมีเล่มเดียว บางหมวดมีหลายเล่ม

ลักษณะการแบ่งหมวดหมู่ของระบบ LC 1. หมวดใหญ่ (Main Classes) มี 21 หมวด คือ A = เรื่องทั่วไป B = ปรัชญา ศาสนา C = ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ D = ประวัติศาสตร์ทั่วไป / โลกเก่า E-F= ประวัติศาสตร์ของทวีปอเมริกา G = ภูมิศาสตร์ มานุษยวิทยา นันทนาการ H= สังคมศาสตร์ J = รัฐศาสตร์ K= กฎหมาย L = การศึกษา M = ดนตรี N = ศิลปะ P = ภาษาและวรรณคดี Q = วิทยาศาสตร์ R = การแพทย์ S = การเกษตร T = เทคโนโลยี U = วิทยาศาสตร์การทหาร V = นาวิกศาสตร์ Z = บรรณารักษศาสตร์

ลักษณะการแบ่งหมวดหมู่ของระบบ LC 2. หมวดย่อย (Sub Classes) เป็นการแบ่งย่อยจากหมวดใหญ่ (main classes)ใช้อักษรภาษาอังกฤษ 2-3 ตัว ซึ่งแต่ละหมวดอาจแบ่งหมวดย่อยไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับขอบเขตเนื้อหา เช่น หมวด H สังคมศาสตร์ HC = สถิติ HB = เศรษฐศาสตร์ HC = ประวัติสภาวะทางเศรษฐกิจ HE = การขนส่งและการคมนาคม

ลักษณะการแบ่งหมวดหมู่ของระบบ LC 3. เนื้อเรื่องย่อยของหนังสือ (subdivision / subject) เป็นการแบ่งเนื้อหาในหมวดย่อย (sub classes) ให้ละเอียดมากยิ่งขึ้นโดยใช้เลข 1-9999 เติมหลังหมวดย่อย และอาจใช้จุดทศนิยม เลขคัตเตอร์หมู่ หรือตารางประเภทต่าง ๆ ในการกระจายเนื้อหาให้ละเอียดมากยิ่งขึ้น ตัวอย่าง Q Sciences (general) 300-385 Cybernetics. Information theory QA Mathematics 9-10 Mathematical Logic 76 Computer sciences. Electronics data processing 101-141 Elementary mathematics. Arithmetic 150-274 Algebra

ตัวอย่างเลขหมู่ระบบ LC QA แบ่งหมวดหมู่ย่อยจากหมวดใหญ่ Q 76 แบ่งย่อยจากหมวดหมู่ย่อย โดยใช้ตัวเลข .7 ใช้จุดทศนิยมแบ่งย่อยเนื้อหาเพื่อให้ละเอียดยิ่งขึ้น QA 76.7 AAA 2000

ห้องสมุดคณะรัฐประศาสนาศาสตร์ ระบบ LC ในประเทศไทย ห้องสมุดคณะรัฐประศาสนาศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ สำนักหอสมุด ม.นเรศวร นำระบบ LC มาใช้ครั้งแรกเมื่อใด ?