วิธีเสาะแสวงหาซึ่งความรู้ – ความจริง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

Dr.Smira Chittaladakorn
Research and Development (R&D)
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
จุดประสงค์ปลายทาง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ว่ามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมี หลักฐานและข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เท่านั้น.
การศึกษาทางชีววิทยา Umaporn.
กระบวนการวิจัย(Research Process)
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Physiology of Crop Production
Programs of the Intel® Education Initiative are funded by the Intel Foundation and Intel. Copyright © 2007, Intel Corporation. All rights reserved. Intel,
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การศึกษาชีววิทยา.
นายเกียงไกร แปลงไทยสง
Do Research Prabhas Chongstitvatana Chulalongkorn University 13 September 2013
ขอบเขตการศึกษาของญาณวิทยา (epistemology)
วิธีการแสวงหาความรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
โดย อาจารย์ ดร.มาเรียม นิลพันธุ์
Experimental Research
Inductive, Deductive Reasoning ผศ.( พิเศษ ) น. พ. นภดล สุชาติ พ. บ. M.P.H.
การวางแผนและการดำเนินงาน
Mars ดาวอังคาร Known as the Red Planet, it’s about to appear in spectacular fashion! รู้จักกันดีว่าเป็นดวงดาวสีแดง และได้ฤกษ์ที่จะปรากฏให้เห็นด้วยตาคุณเอง.
การวิจัยการศึกษา.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วิธีการทางวิทยาการระบาด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
การจัดกระทำข้อมูล.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
1. ตัวแปรต้น 2. ตัวแปรตาม 3. ตัวแปรควบคุม การกำหนดและควบคุมตัวแปร.
การเขียนรายงานการวิจัย
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
ENTITY มุมมองยุคสารสนเทศ สังคมสารสนเทศ สังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based Society) ประยุกต์สู่ New Economy ทิศทางวิวัฒนาการและพัฒนาสู่ยุคต่างๆ Processors.
มโนทัศน์เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
สรุปที่เรียนมา วิเคราะห์การบ้านงานกลุ่ม
Research Methodology.
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
ทักษะการคิดวิเคราะห์
ความหมายของวิทยาศาสตร์
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
การนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ให้น่าสนใจได้อย่างไร
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิธีการคิดวิเคราะห์.
มศว 142 วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
Mathematical Model of Physical Systems. Mechanical, electrical, thermal, hydraulic, economic, biological, etc, systems, may be characterized by differential.
นางสาวทัศนีย์ ศรีภุมมา
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
มนุษย์รู้จักใช้การให้เหตุผล เพื่อสนับสนุนความเชื่อ หรือเพื่อหาความจริง
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
Chapter Objectives Chapter Outline
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิธีเสาะแสวงหาซึ่งความรู้ – ความจริง ผศ.(พิเศษ) น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.

วิธีเสาะแสวงหาซึ่งความรู้ – ความจริง มนุษย์มีวิธีการเสาะแสวงหาความรู้ หรือมีวิธีการเรียนรู้หลายวิธี ซึ่งอาจจะจำแนกได้ดังนี้ เชื่อตามคำบอกเล่า หรือปฏิบัติต่อๆ กันมา หรือเป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์ในอดีต (Method of Tenacity) การเรียนรู้จากผู้ที่มีอำนาจเหนือกว่า หรือผู้เชี่ยวชาญ เช่น จากครู อาจารย์ (Method of Authority) การเรียนรู้ตามสัญชาตญาณ หรือลางสังหรณ์ของตนเป็นเกณฑ์ (Method of Intuition) การเรียนรู้จากการลองผิดลองถูกด้วยตนเอง (Method of trial and Error)

Deductive Method การเสาะแสวงหาความรู้ด้วยการคิดหาเหตุผล โดยการอ้างข้อเท็จจริง 2 ประการ คือ ข้อเท็จจริงใหญ่ และข้อเท็จจริงย่อย แล้วอาศัยข้อเท็จจริงสองประการเพื่อประกอบคำสรุป ซึ่งเรียกว่า “วิธีอนุมาน” (Deductive Method) เช่น (Law  Conclusion) ข้อเท็จจริงใหญ่ : คนทุกคนต้องตาย       ข้อเท็จจริงย่อย : นายไก่ เป็นคน คำสรุป : นายไก่ ต้องตาย ผู้เสนอวิธีการหาความรู้โดยการสรุปข้อเท็จจริงดังกล่าวข้างต้น คือ อริสโตเติล all A is B, C is A then C is B

Inductive Method การเสาะแสวงหาความรู้ด้วยการเก็บข้อมูลย่อย หรือข้อเท็จจริงย่อยเสียก่อนแล้ว ค่อยมาจัดสรรแบ่งประเภท เพื่อดูสิ่งที่เหมือนกันและต่างกัน หาความสัมพันธ์กัน แล้วค่อยแปลความหมาย จึงจะสรุปได้ ซึ่งวิธีแสวงหาความรู้เช่นนี้ เรียกว่า “วิธีอุปมาน” (Inductive Method) เช่น ข้อเท็จจริงย่อย   : นายแดงเกิดเป็นคนแล้วตาย          : นายขาวเกิดเป็นคนแล้วตาย : นางเขียวเกิดเป็นคนแล้วตาย ข้อสรุปรวม : ทุกคนเกิดมาแล้วต้องตาย (ObserveConclusion) ทั้งนี้ ฟรานซิส เบคอน เป็นผู้เสนอวิธีการหาความรู้ดังกล่าว

การเสาะแสวงหาความรู้ด้วยการตั้งปัญหา การเสาะแสวงหาความรู้ด้วยการตั้งปัญหา หรือข้อคำถามเรื่องนั้นๆ เสียก่อนแล้วใช้ หลักการ “อนุมาน” (Deduction) เพื่อหาคำตอบ หรือเรียกว่าสมมติฐาน เมื่อได้สมมติฐานแล้ว จึงทำการรวบรวมข้อมูลเพื่อตรวจสอบสมมติฐานนั้นๆ ว่าเป็นจริงหรือไม่ประการใด แล้วจึงสรุปผล โดยอาศัยหลักการ “อุปมาน” (Induction) ผู้เสนอวิธีการหาความรู้ด้วยเช่นนี้ คือ ชาร์ล ดาร์วิน และวิธีนี้ก็คือ “วิธีการทางวิทยาศาสตร์”

การสังเกตของ Mendel เริ่มจากการสังเกต ดอกไม้ สีแดง สีขาว สีชมพู คัดเลือกพันธ์แท้ RR, WW RR+WW  RR, RW, RW, WW แล้วตั้งสมมติฐาน เป็นทฤษฏีทางพันธุกรรม (hereditary theory) สามารถทดลองซ้ำได้ว่าเป็นจริง

การสังเกตของนิวตัน แอปเปิลหล่นสงสู่พื้นโลก โลกและแอปเปิลดึงดูดกันเช่นเดียวกันกับ ดวงอาทิตย์ดึงดูดโลก และดาวเคราะห์ โลกดึงดูดดวงจันทร์ ถ้ามีมวลสารจะมีแรงดึงดูดกัน ตั้งสมมติฐาน พิสูจน์สมมติฐาน กฎ (Law) Three Law of motion

Sir Isac Newton By 1679 Newton had returned to the problem of planetary orbits. The idea of a planetary attraction based on the inverse square of the distance between the Sun and the planets. This law of attraction follows, in the simple case of a circular orbit, from German astronomer Johannes Kepler’s Third Law, which relates the time of a planet’s revolution around the Sun to the size of the planet’s orbit (see Kepler’s Laws).

Sir Isac Newton The law of attraction also takes into account the centripetal acceleration of a body moving in a circle, given by Dutch astronomer Christiaan Huygens in 1673. The problem of determining the orbit from the law of force had baffled everyone before Newton, who solved it in about 1680. See also Mechanics: Newton’s Three Laws of Motion.

Newton’s first law of motion Newton’s first law of motion states that if the vector sum of the forces acting on an object is zero, then the object will remain at rest or remain moving at constant velocity.

Newton’s second law relates net force and acceleration. A net force on an object will accelerate it—that is, change its velocity. The acceleration will be proportional to the magnitude of the force and in the same direction as the force. The proportionality constant is the mass, m, of the object. F = ma

Newton’s third law of motion states that an object experiences a force because it is interacting with some other object. The force that object 1 exerts on object 2 must be of the same magnitude but in the opposite direction as the force that object 2 exerts on object 1.

การเสาะแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) การกำหนดปัญหา การตั้งสมมติฐาน การรวบรวมข้อมูลเพื่อพิสูจน์ สมมติฐาน และการสรุปผล ซึ่งเป็นวิธีการหาความรู้ที่มีขั้นตอนอย่างเป็นระบบ อาศัยความเป็นเหตุ เป็นผลในการแสวงหาคำตอบ และเป็นวิธีที่น่าเชื่อถือกว่าวิธีอื่นๆ

การวิจัย (Research) การวิจัย คือ การศึกษาเพื่อค้นหาความจริงหรือความรู้ใหม่ โดยใช้กระบวนการศึกษาที่เชื่อถือได้ (กระบวนการทางวิทยาศาสตร์) มีวัตถุประสงค์เพื่อนำความรู้หรือความจริงที่ได้จากการวิจัยมา อธิบายหาสาเหตุเปลี่ยนแปลง หรือควบคุมปรากฏการณ์ในธรรมชาติ หรือพัฒนางานที่ปฏิบัติ

References http://netra.rilp.ac.th/~phaitoon/1true.html Microsoft® Encarta® Reference Library 2003. © 1993-2002 Microsoft Corporation.