ตำแหน่งที่ตั้งของบ้านเมืองฟูนัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

การประกาศ พระราชกฤษฎีกา แห่งมิลาน พ.ศ 856 โดย ครูขณิฐภรณ์ พรหมปลูก
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย
ASEAN : Laos น.ส. ปรัฐษฎา บุญมา รหัส หมู่ 30 คณะ อก.
ประเทศอาเซียน ประเทศพม่า.
พระพุทธศาสนาแห่งทวารวดี (พศต )
พระพุทธศาสนาในฟูหนำ ( พศต )
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ
วัฒนธรรมในอาเซียน (ประเทศกัมพูชา)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
๓ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
การศึกษาต่อในประเทศจีน
พระพุทธศาสนาในประเทศไทย
รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
โรงเรียนปิยะบุตร์ อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
บทที่ 2 สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ
ภาคใต้สมัยก่อนประวัติศาสตร์
จัดทำโดย ด.ญ.อมราลักษณ์ ลาภเกิน เลขที่ 23 กลุ่ม 16
10 ประเทศอาเชียน จัดทำโดย ด.ช.ปัณณทัต ด้วงทอง กลุ่ม 15 เลขที่ 41
อาเซียน สนุกกับอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.เบญญาภา เพ็ญกรูด ม.1/16 เลขที่34
จัดทำโดย ด.ญ.ธนาภรณ์ ตุ้มวิจิตร กลุ่มที่ 15 เลขที่ 18
ด.ชธเนศพล สินธุพรหม กลุ่ม15 เลขที่7
จัดทำโดย ด.ช. พศวัตร์ พุ่มลำเจียก กลุ่ม 15เลขที่10
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
สมัยเมืองพระนคร (ราวกลางพุทธ ศตวรรษที่ )
สมัยโคะฟุน.
การนับถือศาสนาในราชอาณาจักรกัมพูชา
จังหวัดสุพรรณบุรี โดย เด็กชายอธิภัทร แป้นทิม ชั้นป4/3 เลขที่10
โดย เด็กชายชนสิษฏ์ วุฒิรักษ์ชัยนันท์ ป.4/3 เลขที่7
จัดทำโดย ด.ญ.ทิพย์จิรา เอี่ยมวิจารณ์ ชั้นป.4/3 เลขที่ 41
ท่องเที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี โดย ด. ญ. สุดารัฐ เลิศทัศนว นิช.
เหตุการณ์สำคัญในภูมิภาคต่าง ๆของโลก ที่มีผลต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโลก การสำรวจทางทะเล แต่เดิมการติดต่อค้าขายของคนในต่างทวีปทำได้ยาก.
พม่า มีเมืองหลวงคือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ล้านคน กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท.
จังหวัดราชบุรี จัดทำโดย
แบบทดสอบ เรื่อง แผนที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เรื่อง ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมการเมือง
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
จังหวัดพะเยา นางสาววชิรา สร้อยสน รหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
อำเภอพนัสนิคม โดย นางสาวสิราวรรณ พรงาม.
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
Slogan Of the province History Mood &Tone ROIET.
สังคมศึกษา ศาสา และวัฒนธรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
จัดทำโดย 1.ด.ช. ชาญชล ประดิษฐภูมิกลุ่ม 16 เลขที่28
ประวัติ พื้นที่บริเวณกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน เดิมเป็นที่ตั้งของ เมืองธนบุรีศรีมหาสมุทร ชาวต่างชาติเรียกกันว่า " บางกอก " มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีความสำคัญ.
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
จดหมายเหตุของภิกษุจีนชื่อ เหี้ยนจั๋ง หรือ พระถังซัมจั๋ง (Hieun Tsing) ซึ่งเดินทางจากเมืองจีนไปประเทศอินเดียทางบก ราว พ.ศ – 1188  และพระภิกษุจีนชื่อ.
โดย ด.ญ. ชาดา จินะกาศ เลขที่ 25 ม. 2/8 โรงเรียนจักรคำคณาทร ลำพูน
กรุงศรีอยุธยา.
ครูจงกล กลางชล. ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง 2 วิเคราะห์แนวคิดเกี่ยวกับ ความเป็นมาของชนชาติไทย โดย วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.สุพรรณภา ตันยะ ม.1/12 เลขที่ 32.
อังกฤษเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุด และมีประชากรมากที่สุดเมื่อ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในสหราชอาณาจักร ประวัติศาสตร์ อังกฤษเริ่มขึ้นเมื่อมีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์เมื่อหลายพันปี
สมาคมอาเซียน AEC ประเทศ ลาว (Laos)
ประเทศ มาเลียเชีย ปรากฏความสัมพันธ์อย่างแน่นแฟ้นระหว่างหลายชนเผ่าพันธุ์และหลายวัฒนธรรมของประเทศ นอกจากชาวมาเลย์และกลุ่มชนพื้นเมืองแล้ว ยังมีผู้อพยพมาจากจีน.
ประเทศมาเลียเชีย 10 ประเทศอาซียน
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
เรื่อง ธงชาติในอาเซียน
10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย เด็กหญิง ญาธิดา หลาวเพ็ชร กลุ่ม 14 เลขที่ 14
พ่อขุนรามคำแหง จัดทำโดย นาย เจษฎากร ลิมปนุสรณ์ นาย เชิงชาย ตะโฉ
8จังหวัดภาคเหนือตอนบน
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
1. ด.ญ. นรมน น้อยชัยพฤกษ์ เลขที่ ด.ญ. สุกัญญา พันธุพูล เลขที่ 37
  1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็น ต่อไปนี้  1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก  1.3. สิ่งใดที่บ่งบอกความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
จัดทำโดย เด็กหญิง พลอย กลิ่นหอม กลุ่ม 14 เลขที่ 27
จัดทำโดย ด.ญ. อรจิรา บุญภักดี ม.1/14 เลขที่ 31 กลุ่ม 15
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ชื่อ ด.ญ.ชนิกา อ่ำทับ กลุ่ม 16 เลขที่ 10
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตำแหน่งที่ตั้งของบ้านเมืองฟูนัน

นักโบราณคดีเชื่อกันว่าศูนย์กลางของบ้านเมืองฟูนัน อยู่ทางตอนใต้ของกัมพูชา เดิมเป็นเพียงรัฐเล็กๆ มีศูนย์กลางอยู่ที่ เมืองบาพนม ต่อมาเมื่อบ้านเมืองเจริญรุ่งเรืองมากขึ้นจึงย้ายมาอยู่ เมืองนครบุรี (อังกอร์บอเรย) ฟูนันมีอำนาจการเมืองเหนือรัฐเล็กๆ อื่นๆ ที่ตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียง ซึ่งในช่วงที่เจริญสูงสุดอำนาจ ทางการเมืองอาจขยายออกไปบริเวณลุ่มน้ำโขงตอนใต้รวมทั้ง ดินแดนแถบชายฝั่งทะเลอ่าวไทยด้วย แต่ต่อมาก็เสื่อมอำนาจลง จากการรุกรานของรัฐเจนละที่เคยอยู่ใต้อำนาจของฟูนันมาก่อน

ในจดหมายจีนมีเรื่องเล่าเกี่ยวกับฟูนันหลายเรื่อง และจากเรื่องเล่า ในจดหมายจีนและหลักฐานโบราณที่พบในประเทศกัมพูชา เช่น

ทำให้อาจสรุปได้เรื่องราวของฟูนันได้ดังนี้ว่า การปกครองบ้านเมืองสมัยฟูนัน ในสมัยนี้คงจะมีกษัตริย์ ปกครองบ้านเมืองสืบต่อกันมาหลายพระองค์ แต่เราทราบ พระนามแท้จริงของกษัตริย์ฟูนันจากจารึกโบราณที่ค้นพบในกัมพูชา เพียง 2 พระองค์ซึ่งปกครองบ้านเมืองในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 11 ก่อนที่ฟูนันจะเสื่อมลงคือ พระเจ้าโกณฑิญยะ-ชัยวรมัน พระเจ้ารุทธรวรมัน

ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ จากการขุดค้นทางโบราณคดี ที่เมืองออกแก้วซึ่งตั้งอยู่ในเขตเวียดนามในปัจจุบัน มีการค้นพบ โบราณวัตถุต่างถิ่นมากมายหลายประเภท

หลักฐานที่พบดังกล่าวอาจสรุปได้ว่า กิจกรรมที่ทำให้บ้านเมือง สมัยฟูนันรุ่งเรืองมากคือ การค้าขาย ฟูนันติดต่อค้าขาย กับโลกภายนอกอย่างกว้างขวางโดยมีเมืองออกแก้วเป็นเมืองท่า และเมืองการค้าที่ใหญ่มาก เมืองท่าแห่งนี้คงจะเป็นศูนย์กลาง และท่าจอดเรือที่สำคัญของภูมิภาคที่เชื่อมโยงกับเส้นทางการค้า ระหว่างซีกโลกตะวันตกและตะวันออกในราวพุทธศตวรรษที่ 9-10 ในจดหมายจีนเล่าว่าชาวฟูนันมีความสามารถในการเดินเรือ เดินทางได้ไกลๆโดยไม่หวั่นเกรงอันตรายใดๆ และมีความสามารถ ในการต่อเรือขนาดใหญ่ด้วย

ความเชื่อทางศาสนาและศิลปวัฒนธรรม เรื่องเล่าในจดหมายเหตุจีนและประติมากรรมรูปเคารพสมัยฟูนัน ที่พบในกัมพูชา อาจกล่าวได้ว่า ชาวฟูนันได้รับอิทธิพลทางด้าน ศาสนาและศิลปวัฒนธรรมมาจากอินเดีย

ยุคเจนละ กำเนิดและตำแหน่งที่ตั้งบ้านเมืองเจนละ ชื่อของเจนละและกำเนิดของบ้านเมืองเช่นเดียวกับฟูนัน คือได้มาจากเรื่องเล่าในจดหมายเหตุจีน แต่เรื่องเล่า เกี่ยวกับเจนละ น่าเชื่อถือกว่าเรื่องของฟูนันมาก เพราะมีการ ค้นพบหลักฐานโบราณคดีและศิลาจารึกโบราณที่นำมาสนับสนุน และยืนยันได้เป็นจำนวนค่อนข้างมาก หลักฐานดังกล่าว นอกจากจะค้นพบในราชอาณาจักรกัมพูชาแล้ว ยังค้นพบ ในประเทศไทย และในประเทศลาวอีกด้วย

การปกครองบ้านเมือง หลักฐานจากศิลาจารึกโบราณทำให้ทราบว่า หลังจากที่ มีชัยชนะเหนือดินแดนฟูนัน เจนละมีกษัตริย์ปกครองบ้านเมือง สืบมาหลายพระองค์ ได้แก่ พระเจ้าภววรมันที่ 1 ( 1093-?) พระเจ้ามเหนทรวรมัน (ราวพ.ศ.1143- พ.ศ.1158) พระเจ้าอีศานวรมันที่ 1 (ราวพ.ศ. 1158- พ.ศ.1171) พระเจ้าภววรมันที่ 2 (ราวพ.ศ.1171-?) พระเจ้าชัยวรมันที่ 1 (ราวพ.ศ.1198-1243) พระนางชัยเทวี (ราวพ.ศ.1243 -? )

และในรัชกาลของพระนางชัยเทวีเจนละก็เสื่อมลง บ้านเมืองแตกแยกออกเป็น ๒ ฝ่ายคือ เจนละบก ตั้งอยู่ในบริเวณ ดินแดนทางตอนใต้ของลาวและดินแดนส่วนหนึ่งในภาคอีสาน ของไทย เจนละน้ำ ตั้งอยู่ในบริเวณดินแดนลุ่มน้ำโขงตอนใต้ ทั้ง 2 แคว้นเป็นปฏิปักษ์ต่อกันด้วย ความแตกแยกดังกล่าวทำให้ อำนาจของเจนละเสื่อมลง และในที่สุดเจนละตกอยู่ภายใต้ อิทธิพลการเมืองของอาณาจักรที่ตั้งอยู่บนเกาะชวา

ร่องรอยหลักฐานโบราณคดียุคเจนละ ที่พบในกัมพูชา