เพลงพื้นบ้านในภูมิภาคตะวันตก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
Advertisements

ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
เรื่อง เด็กเลี้ยงแกะชอบปด
ศูนย์สื่อการสอนพระพุทธศาสนา สำนักสงฆ์สวนวาง
แบบฝึกทักษะเรื่องเหตุผลกับภาษา
นิทาน เรื่อง สองพี่น้องผจญภัย
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
ตัวสะกด จดจำง่าย นวัตกรรมกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
คำคล้องจอง หนู ปู ดูรูงู ปูนา ขาเก
ปลา กับ นกกระยาง.
บ้านทุ่งหว้า หมู่ 4 ต.คึกคัก อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา
ใครคือฉัน? ฉันคือใคร?.
กลุ่มดาวในนิทานของไทย
ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ กุมารแพทย์และจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น
สื่อการสอน ที่พัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ภาษาไทย
สมาชิกในกลุ่ม นายพิสิษฐ สามารถ ชั้น ม.5/5 เลขที่ 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
คำกริยา.
คำวิเศษณ์.
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
โดย ครูภาวัติ บุญกาญจน์
นาย สุจริต บัวพิมพ์ นักวัฒนธรรมอาวุโส.
หลักปฏิบัติ ๔ ประการ ในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี
บริหารสมอง.
ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ
สำนวนชวนคิด รุ่งรักษ์ นุ่มไทย.
ลาบเห็ดทอด โดย: เอย นิกกี้ บูม.
เพลงกล่อมเด็กภาคใต้.
ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้
ภาคใต้สมัยก่อนประวัติศาสตร์
การละเล่นของไทย จัดทำโดย ด.ญ.พรหมพร แสงผึ้ง ด.ญ.พัชราภา มหาวิจิตร เสนอ
นิทาน เรื่อง มดน้อยแทนคุณ
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
เรื่อง พยัญชนะไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย วิชาภาษาไทย
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
จัดทำโดย ด.ช.ภูมิพัฒน์ จันทร์ทอง
การเขียนผังงาน.
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
นิทานภาพเคลื่อนไหว เรื่อง นกน่ารัก คลิกต่อไป.
๗.พยัญชนะท้ายพยางค์แม่ กง
ตอนที่ ๒ สำนวน คำพังเพย สุภาษิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
๙.พยัญชนะท้ายพยางค์ แม่ เกย
๑๐.พยัญชนะท้ายพยางค์ แม่เกอว
คือพยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
ความรู้เกี่ยวกับตัวเรา
กลุ่ม “902”.
วิธีการฝึกอบรม ลูกเสือสามัญ
สื่อ CAI เรื่อง คำนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ข้อที่ คำถาม คำตอบ ๑ คิดอย่างไรถึงมาเลี้ยง กุ้งขาว เป็นอาชีพที่ทำกันมานานและ เป็นการทำรายได้มหาศาล ปัจจุบันจะเลี้ยงยาก ๒ในการขุดบ่อควร คำนึงถึงพื้นที่บริเวณใด.
การสอนการแก้โจทย์ปัญหาการแก้สมการ
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
แนวคิดหนังสือ สำหรับเด็กวัยแรกเกิด – 3 ปี. Toy Book.
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
ภูมิปัญญาทางภาษา ของท้องถิ่น
สนุกกับชนิดของคำ เรื่อง คำอุทาน สรุปแผนผังความคิด เรื่องคำอุทาน
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
นิทานอีสป เรื่อง เด็กเลี้ยงแกะ
ประเภทของการวิจารณ์.
ภาษาถิ่นใต้.
เรื่อง ประโยค.
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
กิจกรรมการคิด.
กั บ ดั ก ห นู.
ภาษาท้องถิ่น (ภาคอีสาน)
บทลงโทษด้วย ความรัก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เพลงพื้นบ้านในภูมิภาคตะวันตก โดย บัญญัติ เรืองศรี

ความหมายเพลงพื้นบ้าน ร้อยกรองมุขปาฐะ บทร้อยกรอง ดนตรี โดยการถ่ายทอดโดยวิธีมุขปาฐะ เรียบง่ายแบบชาวบ้าน

ลักษณะของเพลงพื้นบ้าน ชาวบ้านร้องเล่นกันจนเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต แต่ละถิ่นจะมีลักษณะที่แตกต่างกันไป ร้องคนเดียวหรือโต้ตอบกัน ใช้เครื่องประกอบจังหวะน้อยชิ้น

เพลงพื้นบ้านในภูมิภาคตะวันตก ที่สำรวจพบในปัจจุบัน ๑. เพลงเกี่ยวกับเด็ก ๒. เพลงร้องโต้ตอบ ๓. เพลงประกอบการทำงาน ๔. เพลงประกอบความเชื่อและพิธีกรรม ๕. เพลงประกอบการเล่นของผู้ใหญ่ ๖. เพลงเบ็ดเตล็ด

๑. เพลงสำหรับเด็ก เพลงกล่อมเด็ก เพลงประกอบการละเล่น ของเด็ก

ประวัติเพลงสำหรับเด็ก สืบไม่ได้ บางบทก็อาจเพิ่งเกิดเมื่อ ๔๐–๕๐ ปี ก่อน บางบทอาจเก่าถึง ๑๐๐ ปี เป็นการจดจำและสืบทอดต่อกันมา จุดประสงค์ เพื่อให้เด็กนอนหลับ หรือยั่วเย้า หรือเด็กใช้ร้องประกอบการเล่น (เอนก นาวิกมูล ๒๕๒๘ : ๙๔)

เพลงกล่อมเด็ก เพลงที่ผู้ใหญ่ร้องเพื่อกล่อมเด็กให้นอนหลับ เนื้อหาของเพลงกล่อมเด็กโดยทั่วไป กล่าวถึงภาวะการนอนหลับ ความรักความอาทรของแม่ที่มีต่อลูก การเปรียบเทียบความน่ารัก น่าเอ็นดูของเด็ก กับสัตว์ เช่น นกเขา นกเอี้ยง นกขุนทอง ฯลฯ

เพลงกล่อมเด็ก ตัวอย่าง บัญญัติ เรืองศรี เก็บจาก ต.นราภิรมย์ อ.บางเลน จ.นครปฐม

เพลงกล่อมเด็ก นกกาเหว่าเอย มาไข่ไว้ให้แม่กาฟัก ผู้ร้อง : นางตามณี บุญมาก นกกาเหว่าเอย มาไข่ไว้ให้แม่กาฟัก แม่กาก็หลงรัก คิดว่าลูกในอุรา คาบข้าวมาเผื่อ คาบเหยื่อมาป้อน ปีกหางเจ้ายังอ่อนเลย ท้อแท้แม่จะสอนเจ้าบิน พาลูกไปหากินเอย ที่ฝั่งน้ำแม่คงคา ตีนหนึ่งก็เหยียบสาหร่ายเอย ปากก็ไซ้หาปลา (ต่อ)

เพลงกล่อมเด็ก กินเอ๋ยกุ้งกั้งเอ๋ย กินหอยกระพังแมงดา กินเอ๋ยกุ้งกั้งเอ๋ย กินหอยกระพังแมงดา กินแล้วก็โผล่มาเอ๋ย จับต้นหว้าโพธิ์ทอง มีพรานนั่งด้อม ๆ มอง ๆ ยกปืนขึ้นส่องถูกแม่กาดำ ตัวหนึ่งว่าจะต้มกินเอ๋ย ตัวหนึ่งเอ๋ยว่าจะยำ คราวนี้แหละเป็นกรรมเอย ของแม่กาแสนสงสาร นะลูกกำพร้าเอย ของแม่กาดำ

เพลงประกอบการเล่นของเด็ก เพลงที่เด็กใช้ร้องประกอบการเล่น การร้องกลุ่ม ร้องเดี่ยว สลับกันร้อง มีการปรบมือให้จังหวะ ทำท่าทางประกอบ (สุกัญญา ภัทราชัย มปป. : ๒๓๘)

เพลงประกอบการเล่นของเด็ก ตัวอย่าง บัญญัติ เรืองศรี เก็บจาก ต.ไร่สะท้อน อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี

เพลงประกอบการเล่นของเด็ก ผู้ร้อง : นางเลี่ยม บวบเมือง เพลงจันทร์เจ้า จันทร์เอ๋ยจันทร์เจ้า ขอข้าวขอแกง ขอแหวนทองแดง ผูกมือน้องข้า ขอช้างขอม้า ให้น้องข้าขี่ ขอเก้าอี้ ให้น้องข้านั่ง ขอเตียงตั่ง ให้น้องข้านอน ขอละคร ให้น้องข้าดู ขอยายชู เลี้ยงน้องข้าเถิด ขอยายเกิด เลี้ยงตัวข้าเอง

มอญซ่อนผ้า “มอญซ่อนผ้า ตุ๊กตาอยู่ข้างหลัง ไว้โน้นไว้นี่ฉันจะตีหลังเธอ”

รีรีข้าวสาร “รีรีข้าวสาร สองทะนานข้างเปลือก เลือกท้องใบลาน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน คดข้าวใส่จาน พานเอาคนข้างหลังไว้