ความหมายของการโน้มน้าวใจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
Advertisements

บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การลดความวิตกกังวล.
ประเภทและระดับ ของการสื่อสาร
ทักษะการทำงานร่วมกันเป็นทีม
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
สรุปผลรวมของการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
( Organization Behaviors )
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
การสื่อสารเพื่อการบริการ
บทที่ บทนำ....
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
เนื้อหาปกติ : การชักจูงโน้มน้าว
เนื้อหาพิเศษ :การชักจูงโน้มน้าว
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ อาจารย์จิตรลดา วัฒนาพรรณกิตติ
การจูงใจ (Motivation)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
โดย... อาจารย์อ้อ สุธาสินี
บทนำ บทที่ 1.
(Organizational Behaviors)
(Individual and Organizational)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
ทักษะการใช้กิริยาท่าทาง และบุคลิกการเป็นครู
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
สำรวจ สิ่งที่รู้แล้ว และ อยากรู้(คำถาม) เฉพาะบุคคล และ กลุ่ม
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารมี 2 ประเภทคือ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
( Human Relationships )
อาณ์รมของเด็ก     ลักษณะเด่นทางอารมณ์ของเด็กวัย 3-5 ขวบ มักเป็นเด็กที่แสดงออกอย่างเปิดเผยชัดเจน และแสดงออกตรง ๆ เช่น รัก รื่นเริง โกรธ โมโห หงุดหงิด อิจฉา.
ความหมายของบุคลิกภาพ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
ความหมายของวิทยาศาสตร์
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
ทฤษฎีความต้องการของ แมคคลีแลนด์...?
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน นางพัทธนันท์
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
เรื่อง การใช้ท่าทางประกอบการพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รพ.หาดใหญ่
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
การพูด.
การสื่อสารด้วยใจคลายวิกฤต
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
การใช้ทักษะในการพูด ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพูด ผู้พูด สื่อ สาร
เทคนิคการให้คำปรึกษา
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
รายงานการวิจัย เรื่อง
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหมายของการโน้มน้าวใจ ความหมายของการโน้มน้าวใจ - มิลเลอร์และเบอร์กูน อธิบายว่า การโน้มน้าวใจเป็นความตั้งใจที่จะมีอิทธิพลเหนือผู้ได้รับการโน้มน้าวใจ - ไซมอนส์ สรุปว่า การโน้มน้าวใจคือการเชื้อเชิญให้ผู้รับสารหรือบุคคลอื่นคล้อยตามสารที่ตนเองส่งไป

กระบวนการสื่อสารของมนุษย์ การศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการสื่อสารของมนุษย์จะทำให้เราเข้าใจถึงทิศทางของการโน้มน้าวใจ รวมถึงความเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งก่อนการโน้มน้าวใจ ระหว่างการโน้มน้าวใจและหลังการโน้มน้าวใจ โดยการศึกษาถึงกระบวนการสื่อสารจากแบบจำลองการสื่อสารประเภทต่าง ๆ

ภาษาที่ไม่ออกเสียง สารที่ใช้ในการสื่อสารของมนุษย์นั้น มีทั้งรูปแบบของภาษาที่ออกเสียง (Verbal) ได้แก่ ภาษาพูด ภาษาเสียงและ ภาษาที่ไม่ออกเสียง (Nonverbal) ได้แก่ การแสดงออกทางสีหน้า กิริยาท่าทาง-สายตา การวางท่า และสัญลักษณ์ต่าง ๆ เป็นต้น

ลักษณะของการโน้มน้าวใจ ความตั้งใจที่จะมีอิทธิพลเหนือผู้ได้รับการโน้มน้าวใจ ความตั้งใจในการสื่อสารที่จะมีอิทธิพลเหนือทางเลือก การสื่อสารของมนุษย์ที่สร้างขึ้นมาให้มีอิทธิพลเหนือผู้อื่น การสื่อสารที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเปลี่ยนแปลงความคิดเห็นที่ไม่ลงรอยกัน

ผลของการโน้มน้าวใจ ในการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจสามารถสังเกตได้ 3 ประการ ดังนี้ 1. การเปลี่ยนแปลงความรู้และจิตสำนึก 2. การเปลี่ยนแปลงในอารมณ์และความรู้สึก 3. การเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรม

การเปลี่ยนแปลงในอารมณ์และความรู้สึก การเปลี่ยนแปลงในอารมณ์และความรู้สึก อาจแสดงออกได้โดยการหัวเราะ ร้องไห้ ขนหัวลุก ตัวสะท้อน เป็นต้น นักจิตวิทยาจะมีเครื่องมือวัดความเปลี่ยนแปลงด้วยการวัดจังหวะการเต้นของหัวใจ วัดปฏิกิริยาตอบโต้ทางผิวหนังด้วยกระแสไฟฟ้า และการที่เหงื่อออก ซึ่งไม่สามารถทำได้ภายนอกห้องทดลอง

ความแตกต่างของมนุษย์ ความแตกต่างด้านนิสัยใจคอ คนเรามักมีนิสัยใจคอที่แตกต่างกัน เช่น ความขยันขันแข็ง ขี้เกียจ คดโกง ซื่อสัตย์ เอื้ออาทรผู้อื่น ก้าวร้าว อ่อนโยน เป็นต้น ความแตกต่างด้านรูปร่าง หน้าตา ท่าทาง หรือสิ่งที่ปรากฎต่อสายตาของคู่สื่อสาร สภาพภายนอกที่เราสามารถมองเห็นได้

ความแตกต่างของมนุษย์ ความแตกต่างในด้านความถนัด เป็นความแตกต่างของคนในแง่ของทักษะ การกระทำ เช่น บางคนชอบนั่งทำงานประจำในสำนักงาน ในขณะที่บางคนชอบงานติดต่อสื่อสารกับบุคคลภายนอก บางคนชอบงานเย็บปักถักร้อย บางคนชอบงานบ้านงานครัว หรือบางคนชอบงานประดิษฐ์ เป็นต้น

ความแตกต่างของมนุษย์อาจเกิดจากปัจจัย ดังนี้ เกิดจากกรรมพันธุ์ คือ การสืบเชื้อสายของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นรูปร่าง หน้าตา เสียง นิสัยใจคอ หรือลักษณะเด่น ๆ บางประการ รวมทั้งพรสวรรค์ เกิดจากการอบรมสั่งสอน เช่น จากครู – อาจารย์ เกิดจากความแข็งแกร่ง รวมถึงสภาพทางร่างกายและจิตใจด้วย

ลักษณะนิสัยตามธรรมชาติของมนุษย์ มนุษย์มีลักษณะนิสัยตามธรรมชาติที่แตกต่างกัน ดังนี้ 1. สัญชาตญาณแห่งการทำลาย 2. ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง 3. ความโหดร้าย 4. ความตื่นเต้น ผจญภัย 5. กลัวความเจ็บปวด 6. ชอบทำอะไรตามสบาย 7. มีความอิจฉาริษยา เป็นต้น