พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

เคมีอินทรีย์ AOIJAI WICHAISIRI.
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
อะตอมมิกออร์บิทัล (atomic orbital)
sp Hybridization ของ HC CH (Acetylene)
โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
Conductors, dielectrics and capacitance
Electrophilic Substitution of Benzene
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
ทฤษฎีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล, MOT
Molecular orbital theory : The ligand group orbital
Hybridization = mixing
เคมีอินทรีย์ บทนำ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
Intermolecular Forces
H2O H2O H2O ความสำคัญของน้ำ H2O H2O.
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
พันธะเคมี Chemical bonding.
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
Mass Spectrum of three isotopes of neon.
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
บทที่ 9 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Chemical Bonding I: Basic Concepts
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
แนวโน้มของตารางธาตุ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
โมเลกุล เซลล์ และ ออร์กาเนลล์ (Molecules Cells and Organelles)
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
สารประกอบ.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทที่17 พลังงานจากนิวเคลียส 1. อะตอมและนิวเคลียส 2. Nuclear Fission
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
พันธะเคมี.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
บทที่ 0 เนื้อหา การตั้งชื่อธาตุ การกำหนดสัญลักษณ์ของธาตุ
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
แบบจำลองอะตอม อะตอม มาจากภาษากรีกว่า "atomos" ซึ่งแปลว่า "แบ่งแยกอีกไม่ได้" แนวคิดนี้ได้มาจากนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมคริตุส (Demokritos)
พันธะเคมี อ. ศราวุทธ แสงอุไร ว เคมี พื้นฐาน พันธะเคมี Intermolecular forces 1 นายศราวุทธ แสงอุไร ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ วันที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต อาจารย์ผู้สอน : ผศ. วิไลภรณ์ บุญญกิจจินดา

1. พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต : อะตอมและโมเลกุล เนื้อหาประกอบด้วย 1. พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต : อะตอมและโมเลกุล 2. ชีวโมเลกุล

อะตอม (Atom)

โครงสร้างของอะตอม อะตอมเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของธาตุ โครงสร้างของอะตอมแบ่งเป็นอนุภาคย่อย ได้แก่ - โปรตอน - นิวตรอน - อิเล็กตรอน

ตัวเลขที่แสดงจำนวนโปรตอน เรียกว่า เลขอะตอม (atomic number) ซึ่ง ธาตุแต่ละธาตุสามารถเขียนสัญลักษณ์นิวเครียส์ได้ดังภาพ

ตัวอย่างเช่น 199Fmass number = 19 (proton + neutron) = 19 atomic number = 9 (proton = 9) จำนวน neutron = mass number - atomic number = 10 การทราบค่า atomic number และ mass number ทำให้เราเข้าใจถึงการเสีย e- รับ e- หรือการใช้ e- ร่วมกันของ อะตอมซึ่งทำให้เกิดพันธะเคมีแบบต่าง ๆ

Electrons Cloud (Orbital)

แสดงโครงสร้างของอะตอมในธาตุต่างๆ

อิเล็กตรอนที่วิ่งอยู่ไกลจากนิวเคลียสมากที่สุด จะมีพลังงานสูงที่สุด เรียกอิเล็กตรอนกลุ่มที่อยู่นอกสุดนี้ว่า วาเลนซ์อิเล็กตรอน (valence electron) Valence electron

พันธะเคมี พันธะเคมี : เป็นพันธะยึดเหนี่ยวอะตอมต่างๆให้รวมกันเป็นโมเลกุล พันธะเคมี :มีหลายแบบ พันธะโควาเลนท์ (covalent bond) เป็นพันธะเคมีที่เกิดจากอะตอม 2 อะตอมใช้วาเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน พันธะไอออนนิก (ionic bond) เป็นพันธะที่เกิดขึ้นระหว่าง cation และ anion พันธะไฮโดรเจน (Hydrogen bond)

Covalent bond : H2 เมื่อไฮโดรเจน 2 อะตอม นำ e- ในวงนอก ซึ่งต่างมีอยู่ 1 อิเล็กตรอน มาใช้ร่วม กัน ทำให้ต่างมีวาเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 2 พันธะหรือแรงที่ยึดเหนี่ยวอะตอม ทั้งสองเรียกว่า พันธะโควาเลนท์

Covalent bond : O2 ออกซิเจนแต่ละอะตอมมีอิเล็กตรอนวงนอกอยู่ 6อิเล็กตรอน เมื่อออกซิเจน 2 อะตอม ต่างใช้ 4 อิเล็กตรอน (อิเล็กตรอน 2 คู่) ร่วมกัน จึงทำให้เกิดเป็นพันธะคู่ (double bond) ซึ่งแสดงด้วยขีดสั้น ๆ 2 เส้น หรือ เครื่องหมายเท่ากับ (O = O , O2)

โมเลกุลน้ำ ออกซิเจนมี อิเล็กตรอน วงนอก = 6 อิเล็กตรอน ยังขาดอีก 2 อิเล็กตรอน จึงครบ 8 ออกซิเจนจึงสร้างพันธะกับไฮโดรเจนอะตอม อีก 2 อะตอม จนเกิดเป็นโมเลกุลของน้ำ (H-O-H)

ออกซิเจนออกแรงดึง อิเล็กตรอน ได้มากกว่าไฮโดรเจน จึงมีประจุเป็น - และด้านไฮโดรเจนมีประจุเป็น + จัดเป็น polar covalent bonding เพราะอะตอมของธาตุต่างชนิดกัน ซึ่งต่างมีจำนวนโปรตอนต่างกัน จะส่งแรงดึง อิเล็กตรอน ได้ต่างกัน ทำให้อะตอมหนึ่งมีประจุเป็น -

ภาพแสดงพันธะโควาเลนท์ในโมเลกุลก๊าซไนโตรเจน

Ionic bond : NaCl ปกติ Sodium atom และ Chloride atom ต่างไม่แสดงประจุ Na มี e- ใน outer shell 1 Na จะstable ถ้าไม่มี 1 e- คงเหลือใน outer shell และถ้า Na เสีย 1 e- ไปให้แก่ Cl ซึ่งขาด การมีประจุตรงกันข้ามกัน ทำให้ Na+และ Cl- เกิดแรงดึงดูดเข้าหากัน (electrical attraction)

Hydrogen bonds พันธะไฮโดรเจน (Hydrogen bond) เป็นพันธะระหว่างอะตอมของไฮโดรเจนของโมเลกุลหนึ่ง ซึ่งมีประจุเป็น + (เพราะเป็นส่วนหนึ่งของpolar covalent bond) กับอะตอมอื่นเช่น oxygen หรือ nitrogen ของอีกโมเลกุลหนึ่งที่มีประจุเป็น – Hydrogen bonds

พันธะไฮโดรเจนในโมเลกุลน้ำ เป็นพันธะที่ยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมไฮโดรเจนของน้ำโมเลกุลหนึ่ง กับอะตอมของออกซิเจนของน้ำอีกโมเลกุลหนึ่ง น้ำแต่ละโมเลกุลจะสร้างพันธะไฮโดรเจนกับน้ำได้มากที่สุดอีก 4 โมเลกุล

Hydrocarbons are Hydrophobic

Hydrophobic interaction van der Waals forces within a droplet

Fish in an ice Minnesota lake H2O Fish in an ice Minnesota lake

Algae that lend their colors to the hot springs at Yellowstone National Park