“ไม่มีสิ่งมีชีวิตชนิดใด ที่สามารถอยู่ได้ตามลำพัง”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
Advertisements

Law on Natural Resource Management
ENVIRONMENTAL SCIENCE
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Object-Oriented Analysis and Design
Physiology of Crop Production
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ
สรุป เนื่องจากดูเหมือนว่าสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกำหนดลักษณะการกระจายของพืชพรรณ ดังนั้นถ้าบริเวณใดมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมเหมือนที่เกิดขึ้นตามเส้นรุ้ง ก็น่าจะมีลักษณะของพืชพรรณเหมือนกันด้วย.
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
การเจริญเติบโตของมนุษย์
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
บทที่ 2 ECOSYSTEM ระบบนิเวศ “ECOSYSTEM” หรือ “ECOLOGICAL SYSTEM”
ทำไม..ที่นี่ไม่มีต้นไม้
Habit of Plant……....
BIO-ECOLOGY 2.
การคิดเชิงระบบ และการคิดเชิงวิเคราะห์
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
ทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive Development)
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
ความเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับการจัดการเทคโนโลยี การใช้ทรัพยากร อย่างยั่งยืน การผลิต เข้าใจพื้นฐาน สิ่งแวดล้อม ปราศจาก มลภาวะและการสูญเสีย.
INTRASPECIFIC COMPETITION : การเเก่งเเย่งภายในชนิดเดียวกัน
บทที่ 5 พจนานุกรมข้อมูล Data Dictionary
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
ความหลากหลายของพืช.
บทที่ 4 แบบจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
Group 2 ชุมชนในพื้นที่ป่า. Outside Forest ขอบเขตการสำรวจในพื้นที่ที่มีอยู่จริง – ที่สทก. – ที่สปก. – ที่รอพิสูจน์สิทธิ์ – พื้นที่ผ่อนปรน ( ลักษณะโดยรอบพื้นที่หมู่บ้าน.
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ประเภทของป่าไม้ ป่าไม้ในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ 1. ป่าดงดิบหรือป่าไม้ที่ไม่ผลัดใบ 2. ป่าผลัดใบ ซึ่งแต่ละประเภทแบ่งย่อยออกไปเป็นชนิดต่าง ๆ ได้อีก.
นางสาวเยียรมัย เพ็งสวัสดิ์
ความหลากหลายทางชีวภาพ
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
บทที่ 1 บทนำ(Introduction)
การวิเคราะห์เนื้อหา.
ดอนหอยหลอด (Don Hoi Lot).
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
Ecology.
5.4 ปัญหา ปัจจัยและอุปสรรคในการศึกษา
Biomes of the World.
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
การแพร่กระจายของประชากร (Dispersion)
ฟีโลทอง philodendron sp.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ไบโอม (biomes) ว ชีววิทยาพื้นฐาน คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา
Biomes of the World.
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
น้ำ.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
บทที่ 21 ระบบนิเวศ.
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment, Technology and Life
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“ไม่มีสิ่งมีชีวิตชนิดใด ที่สามารถอยู่ได้ตามลำพัง” บทที่ 5 COMMUNITY ชุมชน…สังคม “ไม่มีสิ่งมีชีวิตชนิดใด ที่สามารถอยู่ได้ตามลำพัง” ต้องอยู่ร่วมกับชนิดอื่นๆ โดยมีความสัมพันธ์กันทางใดทางหนึ่ง

คำว่า “COMMUNITY” KREBS ..ANY ASSEMBLAGE of POPULATIONS of LIVING ORGANISMS in A PRESCRIBED AREA or HABITAT CLARKE ..AGROUP of MUTUALLY ADJUSTED PLANTS AND ANIMALS IN HABITING A NATURAL AREA

รวมความหมาย กลุ่มสิ่งมีชีวิตหลายชนิด ที่อยู่ร่วมกันในพื้นที่ GLEASON . .A COLLECTION of POPULATIONS WITH THE SAME ENVIRONMENTS รวมความหมาย กลุ่มสิ่งมีชีวิตหลายชนิด ที่อยู่ร่วมกันในพื้นที่ มีองค์ประกอบภายใน ค่อนข้างแน่นอน สังคมที่พัฒนาสมดุล..ควบคุมตัวเอง(SELF-REGULATION) SUPERORGANISM

ลักษณะที่สำคัญของสังคม (KREBS 1985) SHELFORD.. เป็นผู้เริ่มทางด้าน BIOTIC COMMUNITY ลักษณะที่สำคัญของสังคม (KREBS 1985) SPECIES DIVERSITY :ความหลากชนิดของสังคม GROWTH FORM AND STRUCTURE : ลักษณะการเจริญ ภาพรวมของสังคมช่วยให้สามารถรู้ถึงชนิดสังคม

SPECIES DOMINANCE :ชนิดเด่น หรือสำคัญของสังคม RELATIVE ABUNDANCE:สัดส่วนจำนวนของแต่ละชนิด มาก น้อย TROPHIC STRUCTURE:โครงสร้างการกินเป็นลำดับ เห็นทิศทางการไหลของพลังงาน

? COMMUNITY ANALYSIS การวิเคราะห์ หรือ การเรียกชื่อสังคม COMMUNITY ไม่มีกฏเกณฑ์ที่แน่นอน ส่วนมาก… ตั้งตามชนิดที่สำคัญในสังคม (IMPORTANT ORGANISMS) COMMUNITY ?

B COMMUNITY ปัญหา…….กรณีที่สังคม มีชนิดสำคัญหลายชนิด ชนิดในสังคม มีการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล A-B-C-D-E-F COMMUNITY X COMMUNITY B COMMUNITY

สรุปเกณฑ์ตั้งชื่อไว้ 3แบบ 1.MAJOR STRUCTURE FEATURE:โครงสร้างหลักของสังคม DOMINANT SPECIES LIFE FORMS SPECIES COMPOSITION LIFE FORMS ที่เด่น…ส่วมมากเป็น….พืช ป่าที่พืชส่วนมากมีการผลัด..ทิ้งใบ..DECIDUOUS FOREST ป่าที่พืชส่วนใหญ่มีใบเล็ก..เข็ม…CONIFEROUS FOREST

องค์ประกอบพืชหรือสัตว์ หรือ สองอย่างที่สำคัญ SPP. COMPOSITION องค์ประกอบพืชหรือสัตว์ หรือ สองอย่างที่สำคัญ QUERCUS - CARYA ASSOCIATION(COMMUNITY) OAK-HICKERY FOREST ป่าสนเขา ป่าเต็งรัง

ป่าผลัดใบห้วยขาแข้ง อุทัย

1.MAJOR STRUCTURE FEATURE: โครงสร้างหลักของสังคม 2.PHYSICAL HABITAT: ลักษณะทางกายภาพของสังคม OCEAN COMMUNITY LAKE COMMUNITY SAND DUNE COMMUNITY

:บทบาทหลักในสังคม เรียกกว้างๆ 3. FUNCTIONAL ATTRIBUTE :บทบาทหลักในสังคม เรียกกว้างๆ TERRESTRIAL COMMUNITY บก MARINE COMMUNITY น้ำเค็ม FRESH WATER COMMUNITY น้ำจืด ESTUARY COMMUNITY น้ำกร่อย

MAJOR PLANT GROWTH-FORM ON LAND การศึกษาสังคมบนบก รู้จักรูปแบบการเจริญของพืชบก MAJOR PLANT GROWTH-FORM ON LAND 1. TREE…(LARGER WOODY PLANTS, MOSTLY > 3 M.) NEEDLE-LEAVED….สน BROAD-LEAVED EVERGREEN..ป่าเขตร้อนชื้น BROAD-LEAVED DECIDUOUS...ป่าเขตอบอุ่น..เขตร้อน

2. LIANAS…WOODY CLIMBLER OR VINES)..เถาวัลย์ 3. SHRUBS….SMALLER WOODY PLANTS..มักสูง <3 เมตร BROAD-LEAVED DECIDUOUS F. STEM SUCCULENTS...CACTUS

พืชที่เจริญอยู่บนพืชอื่น...พืชอิงอาศัย....กล้วยไม้ 4. EPIPHYTES พืชที่เจริญอยู่บนพืชอื่น...พืชอิงอาศัย....กล้วยไม้ 5. HERBS WOODY STEMS FERNS ,GRASS.. 6. THALLOPHYTES LICHENS , MOSSES…

ตามระดับความสูง ความลึก พืชและสัตว์ แตกต่างกัน แตกต่าง แสง ความดัน COMMUNITY STRUCTURE โครงสร้างของสังคม โครงสร้าง….VERTICAL STRUCTURE HORIZONTAL STRUCTURE VERTICAL STRUCTURE..โครงสร้างแนวดิ่ง ...ระดับ ตามระดับความสูง ความลึก พืชและสัตว์ แตกต่างกัน แตกต่าง แสง ความดัน ความหนาแน่นของพุ่มใบ

% ความสูง (เมตร) LIGHT INTENSITY(% OF FULL SUNLIGHT)

EASTERN DECIDUOUS FOREST

แบ่งระดับทั้งพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ นกและแมลง TROPICAL FOREST แบ่งระดับทั้งพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่

MALAYSIAN RAIN FOREST

ผู้ผลิต Sea level

ทุ่งหญ้า หญ้า..ไม้พุ่ม แมลง นก สัตว์อื่นๆ พืช และซากทับถม FLOOR HERBACEOUS แมลง นก สัตว์อื่นๆ พืช และซากทับถม FLOOR สัตว์บางชนิด อยู่ตามพื้น ราก และสัตว์ใต้ดิน แบคทีเรีย รา…... SUBTERRANEAN

VERTICAL ATRUCTURE ของนกในป่าผลัดใบ WELL (1971) แบ่งเป็น 3 ระดับ TOP of CANOPY..เรือนยอด. นกเงือก(HORNBILL) พิราบ(PIGEON) แก๊ก

MIDDLE of CANOPY..ระดับกลาง หัวขวาน(WOODPECKER) ขุนแผน(TROGON) ปรอด(BULBUL) UNDERGROUND or GROUND แต้วแล้ว(PITTA) ไก่ฟ้า(PHEASANT)

เป็นการมองจากมุมสูง เห็นการกระจายขององค์ประกอบสังคม HORIZONTAL STRUCTURE โครงสร้างแนวราบ เป็นการมองจากมุมสูง เห็นการกระจายขององค์ประกอบสังคม แบบ RANDOM , UNIFORM , CLUMPED….. ส่วนมากนิยมใช้ คำว่า “ZONATION” การกระจายของ 2 ชนิด ควบคู่กัน.. ไม้สูง กับ ไม้พุ่มที่ต้องการร่มเงา กลุ่มปรสิต กับ HOST

FOREST GRASSLAND SHRUBS

COMMUNITY COMPOSITION องค์ประกอบของสังคม จากข้อมูลที่ว่า แต่ละสังคมจะมีองค์ประกอบที่ค่อนข้างแน่นอน แตกต่างไปตามสภาพ หรือพื้นที่ ในเรื่องนี้ จะศึกษา SPECIES DIVERSITY SPECIES DOMINANCE คำ ที่เกี่ยวข้อง ECOLOGICAL NICHE ECOTONE

สิ่งมีชีวิตมีที่อยู่เฉพาะตามช่วงความอดทน TERRITORY SIZE ความหนาของพุ่มใบ

สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง อยู่ได้ในช่วงทนได้ อุณหภูมิ แสง ปริมาณฝน

AREA : GEOGRAPHIC RANGE…ITS DISTRIBUTION ECOLOGICAL NICHE “บทบาทหน้าที่ทางนิเวศวิทยา”…จิรากรณ์ 2540 AREA : GEOGRAPHIC RANGE…ITS DISTRIBUTION CAN PLOT ON MAP HABITAT KIND OF ENVIRONMENT OR COMMUNITY ทะเลทราย ป่าสน ป่าดิบ

NICHE..SPECIES PLACE IN COMMUNITY IN RELATION TO OTHER SPECIES ITS POSITION IN THE SPACE,TIME AND FUNCTIONAL RELATION OF COMMUNITY มีข้อมูลรายละเอียด WHERE IT LIVE WHAT IT DOES HOW IT’S CONTRAINED BY OTHER SPECIES

อุณหภูมิ ความหนาของพุ่มใบ ขนาดอาหาร ตัวอย่าง NICHE ของกระรอก….แสดงด้วย 3 ปัจจัย

การแสดง NICHE ของสิ่งมีชีวิต แสดงความแตกต่างเพียงเรื่องเดียว 1-DIMENSION 2 เรื่อง….2-DIMENSION

ขนาดอาหาร..ความชื้น…..ระดับความสูงที่หากิน

PRINCIPLE of GAUSE “สิ่งมีชีวิต 2 ชนิด ไม่สามารถอยู่ใน NICHE เดียวกันได้” จะพยายามหลีกเลี่ยง ……...มีการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ แตกต่างกัน…...ซ้อนทับกันน้อย

สิ่งมีชีวิตจะมีช่วงที่ซ้อนทับกัน มากบ้าง….น้อยบ้าง

ไม้พุ่ม 3 ชนิด มีซ้อนทับกันบ้าง แยกระดับกัน

นกFINCHES บนหมู่เกาะ GALAPAGOS GROUND TREE CACTUS INSECT SEED FRUIT นกFINCHES บนหมู่เกาะ GALAPAGOS มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างจะงอยปาก และบริเวณหากิน

NICHEของนกบางชนิด SPRUCE-FIR FOREST

WARBLER 5 ชนิด กินหนอนผีเสื้อบนต้น SPRUCE เหมือนกัน พบว่า นกแบ่งพื้นที่กัน…..เรือนยอดบน-ล่าง ด้านนอก-ใน

อาหาร A B C ชนิด และปริมาณอาหาร ที่สัตว์กินพืช 8 ชนิด ในทุ่งหญ้า

ถ้ำมรกต

ขอบเขตของสังคม ไม่ได้แบ่งกันได้ชัดเจน ECOTONE ขอบเขตของสังคม ไม่ได้แบ่งกันได้ชัดเจน

ECOTONE TENSION BELT JUNCTION ZONE…แนวเชื่อมต่อ อีกคำหนึ่งที่จะช่วยให้เข้าใจ.NICHE มากขึ้น ECOTONE TENSION BELT JUNCTION ZONE…แนวเชื่อมต่อ แนวเชื่อมต่อระหว่างสังคม ... 2 หรือ มากกว่า THE PRINCIPLE OF EDGES

THE PRINCIPLE OF EDGES สังคมแนวเชื่อมต่อ ..มีจำนวนชนิด และความหนาแน่น ของสิ่งมีชีวิต สูงกว่าสังคมทั่วไป EDGE EFFECT

ชนิดที่เจริญได้เฉพาะในสังคมแนวเชื่อมต่อ ชนิดที่แตกต่างจากสังคมอื่น EDGE SPECIES ชนิดที่เจริญได้เฉพาะในสังคมแนวเชื่อมต่อ ชายป่า น้ำกร่อย

BEECHER(1942) ศึกษาจำนวนรังนกตามแนวเชื่อมต่อ จำนวนรัง/แปลง จำนวนสังคม/แปลง มีสังคมหลายแบบในแปลง NICHE มีนกหลายชนิดด้วย

ลักษณะ หรือ ชนิด EDGE SPECIES

Ecotone

ช่วงแรก มีขอบเขตชัดเจน ขยายเรือนยอดกว้างขึ้น พืชชั้นล่างที่ทนแสงไม่ได้หายไป ที่ชอบแสงเจริญขึ้นมา ชั้นล่างสูงและขยายเรือนยอดกว้าง แก่งแย่งกันมากขึ้น เหนือกว่าจึงอยู่ได้

เหลือชนิดเด่นไม่มาก เรือนยอดขยายต่ำ พืชชั้นล่างมีน้อย พืชชั้นล่างอาจหายไป ถ้าเรือนยอดต่ำมาก EDGE SPECIES เริ่มเจริญเข้ามา พัฒนาเป็นสังคมแนวเชื่อมต่อ

แนวเชื่อมต่อระหว่าง ป่าไม้ กับ ทุ่งหญ้า ระหว่าง บก กับ น้ำ

ECOTONE DRY FOREST GRASSLAND AUSTRALIA

ชายป่าที่ติดกับทุ่งหญ้า…เขาใหญ่