Emulsifying Agent.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
“Non Electrolyte Solution”
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
หินแปร (Metamorphic rocks)
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
H2O H2O H2O ความสำคัญของน้ำ H2O H2O.
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
การทดลองที่ 5 Colligative property
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
คุณสมบัติของคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว (Hardened Concrete)
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
การเสื่อมเสียของอาหาร
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
การลำเลียงผ่านเมมเบรน
POISON สารใดๆก็ตามที่อยู่ในรูปของแข็ง หรือ ของเหลว หรือ แก๊ส เมื่อเข้าสู่ร่างกายของสัตว์แล้ว ไปขัดขวาง / ยับยั้ง การทำงานของเซลล์ต่างๆ ในร่างกาย โดยมีผลไป.
ไขมัน (Lipids or Fat) ประโยชน์ :  ธาตุที่เป็นส่วนประกอบ :- C H O
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
Chemical Properties of Grain
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
ColOR COSMETic FOR SKIN (Face powder)
โครมาโตกราฟี โครมาโตกราฟี คือ การแยกสารโดย
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
Emulsions by Gaysorn Chansiri.
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
การจัดการน้ำ WATER MANAGEMENT.
การแจกแจงปกติ.
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
เตาไมโครเวฟ.
สารประกอบ.
L O G O ชุดทดสอบ กรดเรติโน อิก ใน เครื่องสำอา ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข.
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
Solubilization and its application
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
Lab : protein chemistry JUN 27th, 2014 Rujira Patanawanitkul, M. D
การกำจัดขยะโดยใช้หลัก 3R
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
ยางพอลิไอโซพรีน.
การจำแนกประเภทของสาร
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)
พันธะเคมี.
Cake.
Eclaire.
ปฏิบัติการเรื่อง การสกัดของเหลวด้วยของเหลว Liquid – Liquid Extraction
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Emulsifying Agent

Emulsion หมายถึงของ 2 ชนิด ผสมกันอยู่ในลักษณะที่ไม่ได้เป็นเนื้อเดียวกัน (ปกติไม่รวมกัน) แต่มิได้แยกออกจากกันโดยเห็นชัด โดยส่วนหนึ่ง ส่วนที่กระจายตัวมักจะมีปริมาณน้อยกว่า เรียกว่า disperse phase หรือ discontinuous phase หรือ internal phase ส่วนที่มีปริมาณมากว่าจะทำหน้าที่ห่อหุ้มส่วนที่กระจายตัว เรียกว่า continuous phase หรือ external phase หรือ external phase

Type internal phase external phase Emulsion Foam Aerosol Suspension Liquid gas solid liquid

ชนิดของ Emulsion มี 2 แบบ คือ มี 2 แบบ คือ 1. Oil in water (o/w) น้ำมัน เป็น dispersed phsase ตัวอย่างเช่น นม, ไอศครีม,มายองเนส 2. Water in oil (w/o) น้ำ เป็น dispersed phsase ตัวอย่างเช่น เนย, มาการีน

ลักษณะทางกายภาพของ emulsion จะแตกต่างกันในด้านลักษณะและความหนืด Appearance อิมัลชั่นอาจมีลักษณะปรากฏที่ขุ่น ทึบแสง ขาว หรือโปร่งใส viscosity ความหนืดของ emulsion มักใกล้เคียงกับความหนืดของ external phase

การทำ emulsion ต้องให้ dispersed phase กระจายตัวโดยมีขนาดเล็กที่สุด โดยใช้เครื่องผสม (blender) homogenizer หรือ colloid mill การทำอิมัลชันแบบ inversion เช่น ต้องการเตรียมอิมัลชันชนิด o/w จะผสมน้ำมัน, emulsifier ให้เข้ากันดีในเครื่องผสม เติมน้ำทีละน้อย visicosity เพิ่มขึ้นจนถึงจุด inversion point viscosity จะลดลงโดยฉับพลัน และเปลี่ยนจาก w/o เป็น o/w

ปัจจัยที่มีผลต่อความคงตัวของ emulsion viscosity ของ continuous phase ควรจะมาก -electric charge continuous phase ควรมีประจุสูง dispersed phase ควรมีขนาดเล็กที่สุด Interfacial tension ควรให้น้อยที่สุด (ระหว่างส่วนผสม) การดูดซับอนุภาคของแข็งที่ผิวของ emulsifier phase ควรให้มีปริมาณของแข็งที่ปะปนอยู่ใน internal phase น้อยที่สุด

Emulsifier (emulsifying agent) คือสารเคมีที่สามารถ emulsify หรือทำให้ emulsion, foam คงตัวโดยอาศัยคุณสมบัติการลดแรงตึงระหว่างผิว ในอดีตจะใช้อิมัลซิไฟเออร์ที่ได้จากธรรมชาติ เช่น gum, polysaccharide, lecithin, lipoprotein, bile salt แต่ในปัจจุบันนิยมอิมัลซิไฟเออร์พวก monoglyceride (MG) และ diglyceride (DG) โดยพบว่า 70% ของอิมัลซิไฟเออร์ จะอยู่ในรูป MG, DG

อาจแบ่ง emulsifier (surfactant) ได้หลายประเภท ดังนี้ แบ่งตามประจุ anionic - surfactant ที่มีประจุลบบนส่วนที่เป็ฯ active portion ของโมเลกุล cationic - surfactant ที่มีประจุบวกบนส่วนที่เป็ฯ active portion ของโมเลกุล non-ionic – โมเลกุลไม่แสดงประจุ

2. แบ่งตามค่า HLB (hydrophilic – lipophilic balance) amphoteric - แสดงได้ทั้งประจุบวกและประจุลบขึ้นกับ pH Zwitter ionic – แสดงทั้งประจุบวกและประจุลบที่ surface active portion 2. แบ่งตามค่า HLB (hydrophilic – lipophilic balance) 3. แบ่งตามการละลาย 4. แบ่งตาม function group เช่น เป็นอิมัลซิไฟเออร์ ชนิดที่ไขมันอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัว (saturate/unsaturate) , acid, alcohol

การเลือกใช้ emulsifier อาจพิจารณาจากค่า HLB ซึ่งจะบอกปริมาณร้อยละโดยน้ำหนักของส่วน hydrophilic โดยปกติ HLB มีค่า 0-20 ถ้าเป็นอิมัลซิไฟเออร์ที่ชอบน้ำมัน, น้ำ เท่า ๆ กัน จะมีค่า HLB = 10 ถ้าโมเลกุลเป็นพวกที่ชอบน้ำอย่างเดียว (100% hydrophilic) จะมีค่า HLB = 20

การคำนวณค่า HLB HLB = E/5 = 20(1- S/A) ; E = ร้อยละโดยน้ำหนักของ hydrophilic ในโมเลกุล S = Saponification number (mg. KOH ที่ saponify oil 1 g.) A = acid number ของกรดไขมันที่เกาะอยู่ในโมเลกุล (การคำนวณ HLB ตามสูตรข้างบนมักใช้กับพวก nonionic emulsifier)

ค่า HLB จะบอกคุณสมบัติในการนำมาใช้ประโยชน์ได้ดังนี้ HLB function 4 –6 w/o emulsifier 7 – 9 wetting agent 8 – 18 o/w emulsifier 13 – 15 detergent 15 – 18 solubiliser

Optimum stability ของ W/O emulsifier คือ HLB 3.5 O/W emulsifier คือ HLB 12 emulsifier หลายชนิดผสมกันให้ผลดีกว่า emulsifier ชนิดเดียวที่ค่า HLB เท่ากัน การเตรียม o/w emulsion ควรเลือก emulsifier ที่ละลายน้ำ การเตรียมอิมัลชันชนิด w/o ควรเลือกใช้ emulsifier ชนิดละลายได้ในไขมัน