ความขัดแย้ง ( Conflict )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
esearch and Development
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
หน้าที่ของผู้บริหาร.
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
The Power of Communication
การสื่อสารภายในองค์การ
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
ระบบการบริหารการตลาด
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ซอฟต์แวร์.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การบริหารความขัดแย้ง
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
บทที่ 7 พฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การให้บริการที่เป็นเลิศ ธัญญารัตน์ พฤนท์พิตรทาน
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
สุขภาพจิต และการปรับตัว
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การวิเคราะห์ Competency
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การจัดการความขัดแย้ง (Conflict Management)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
รศ.ดร. เปรื่อง กิจรัตน์ภร
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
กรอบในการวิเคราะห์ ผลกระทบจากโครงการ พัฒนาของรัฐ.
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
บทที่ 4 หลักและวิธีการพัฒนาชุมชน
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
Change Management.
บทที่1 การบริหารการผลิต
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความขัดแย้ง ( Conflict )

ความหมาย ความขัดแย้ง มาจากภาษาลาตินคือ Conflictus แปลว่า ความไม่เห็นด้วย สงคราม การต่อสู้ เป็นปรปักษ์ต่อกัน บุคคลหรือพลังฝ่ายตรงข้ามที่ทำให้เกิดการกระทำของการแตกแยก ดังนั้นความขัดแย้งจึงเกี่ยวข้องกับการตระหนักหรือการรับรู้ ความเป็นปรปักษ์ ความขาดแคลน การขัดขวาง ซึ่งนำไปสู่การกระทำที่มุ่งหมายอันอาจมีลักษณะแฝงเร้น หรือเปิดเผยก็ได้ conflict

กระบวนการของความขัดแย้ง 1. ความขัดแย้งที่ซ่อนเร้น ( Latent conflict ) 2. ความคับข้องใจ ( Frustration ) 3. การสร้างแนวความคิด ( Conceptualization ) 4. พฤติกรรม ( Behavior ) 5. ผลที่ได้ ( Outcome ) conflict

พฤติกรรมของผู้อื่น ความคับข้องใจ การสร้างแนว ความคิด พฤติกรรม ความขัดแย้ง ในภายหลัง conflict

พฤติกรรมความขัดแย้ง 1. การแข่งขัน ( competing ) 2. การยอมเสียผลประโยชน์ ( accommodating ) 3. การหลีกเลี่ยง ( avoiding ) 4. การร่วมแรงร่วมใจ (collaborating ) 5. การประนีประนอม ( compromising ) conflict

ตัวแบบทางความคิดของความขัดแย้งในองค์การ 1. ตัวแบบการต่อรอง ( bargaining model ) 2. ตัวแบบระบบราชการ / องค์กรขนาดใหญ่ที่ซับซ้อน ( bureaucratic model ) 3. ตัวแบบระบบ ( system model ) conflict

ชนิดของความขัดแย้ง 1. ความขัดแย้งภายในเอกบุคคล 2. ความขัดแย้งระหว่างบุคคล 3. ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม 4. ความขัดแย้งในระดับองค์การ conflict

1. ความขัดแย้งในเอกบุคคล ( intraindividual conflict ) 1) ความคับข้องใจ ( frustration ) 2) ความขัดแย้งในเป้าหมาย ( goal conflict ) approach - approach conflict approach - avoidance conflict avoidance - avoidance conflict conflict

1) วิเคราะห์ในเชิงการติดต่อ 2. ความขัดแย้งระหว่างบุคคล ( interpersonal conflict ) 1) วิเคราะห์ในเชิงการติดต่อ สภาพทางจิต การติดต่อ การติดต่อที่ประกอบกันจนสมบูรณ์ 2) วิเคราะห์จากหน้าต่างโจฮารี ส่วนเปิดเผย ส่วนจุดบอด ส่วนซ่อนเร้น ส่วนลึกลับ conflict

การติดต่อที่ประกอบกันสมบูรณ์ P P P P P P A A A A A A C C C C C C (A) (B) (C) conflict

การติดต่อที่ไขว้กัน P P A A C C conflict

หน้าต่างโจฮารี 1. ส่วนเปิดเผย (open area) 2. ส่วนจุดบอด (blind area) รู้ / ไม่รู้ 1. ส่วนเปิดเผย (open area) 2. ส่วนจุดบอด (blind area) ตนเอง / ผู้อื่น 3. ส่วนซ่อนเร้น (hidden area) 4. ส่วนลึกลับ (unknown area) conflict

วิธีเพื่อการแก้ไขข้อขัดแย้งระหว่างบุคคล 1. วิธีการแบบแพ้ - แพ้ ( lose - lose approach ) 2. วิธีการแบบชนะ - แพ้ (win - lose approach ) 3. วิธีการแบบชนะ - ชนะ (win - win approach ) conflict

3. ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม 1) ชุดของบทบาทที่ที่มีปฏิสัมพันธ์กันและซ้อนกัน 2) กลุ่มเชื่อมโยง 3) ผลกระทบต่อความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม การหลีกเลี่ยง ( avoidance ) การสลายตัว ( defusion) การจำกัดวง ( containment ) การเผชิญหน้า ( confrontation ) conflict

4. ความขัดแย้งระดับองค์การ สาเหตุ 1. เป้าหมายไม่สอดคล้องกัน 2. วิธีการ/การจัดสรรทรัพยากรไม่สอดคล้องกัน 3. สถานภาพไม่สอดคล้องกัน 4. การรับรู้แตกต่างกัน conflict

1) ความขัดแย้งในระดับชั้นการบังคับบัญชา 2) ความขัดแย้งในหน้าที่ ชนิดของความขัดแย้ง 1) ความขัดแย้งในระดับชั้นการบังคับบัญชา 2) ความขัดแย้งในหน้าที่ 3) ความขัดแย้งระหว่างฝ่ายปฏิบัติการและฝ่าย อำนวยการ 4) ความขัดแย้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ conflict

ผลดีและผลเสียของความขัดแย้ง พิจารณาในประเด็นดังนี้ 1. ผลผลิต 2. เสถียรภาพ 3. การปรับเปลี่ยนได้ ผลดี 1. การคิดริเริ่ม เปลี่ยนแปลง 2. การค้นหาแนวคิดใหม่ๆ 3. การหาทางเลือก ผลเสีย 1. ความเครียด 2. เกิดบรรยากาศทางลบ conflict

การจัดการกับข้อขัดแย้ง 1. การแก้ไขข้อขัดแย้งตามแบบที่มีมาแต่ดั้งเดิม 2. การแก้ไขข้อขัดแย้งโดยอาศัยการออกแบบ องค์การใหม่ 3. การแก้ไขข้อขัดแย้งโดยวิธีการเผชิญหน้า conflict

การบริหารความขัดแย้งในองค์การ 1. กำหนดและระเบียบ 2. ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกระแสงาน 3. ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบผลตอบแทน 4. ให้ผู้แทนแต่ละฝ่ายมีส่วนร่วมกำหนดนโยบาย 5. สร้างตำแหน่งพิเศษมีหน้าที่ประนีประนอม 6. ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ด้านการบริหารความขัดแย้ง conflict