ความขัดแย้ง ( Conflict )
ความหมาย ความขัดแย้ง มาจากภาษาลาตินคือ Conflictus แปลว่า ความไม่เห็นด้วย สงคราม การต่อสู้ เป็นปรปักษ์ต่อกัน บุคคลหรือพลังฝ่ายตรงข้ามที่ทำให้เกิดการกระทำของการแตกแยก ดังนั้นความขัดแย้งจึงเกี่ยวข้องกับการตระหนักหรือการรับรู้ ความเป็นปรปักษ์ ความขาดแคลน การขัดขวาง ซึ่งนำไปสู่การกระทำที่มุ่งหมายอันอาจมีลักษณะแฝงเร้น หรือเปิดเผยก็ได้ conflict
กระบวนการของความขัดแย้ง 1. ความขัดแย้งที่ซ่อนเร้น ( Latent conflict ) 2. ความคับข้องใจ ( Frustration ) 3. การสร้างแนวความคิด ( Conceptualization ) 4. พฤติกรรม ( Behavior ) 5. ผลที่ได้ ( Outcome ) conflict
พฤติกรรมของผู้อื่น ความคับข้องใจ การสร้างแนว ความคิด พฤติกรรม ความขัดแย้ง ในภายหลัง conflict
พฤติกรรมความขัดแย้ง 1. การแข่งขัน ( competing ) 2. การยอมเสียผลประโยชน์ ( accommodating ) 3. การหลีกเลี่ยง ( avoiding ) 4. การร่วมแรงร่วมใจ (collaborating ) 5. การประนีประนอม ( compromising ) conflict
ตัวแบบทางความคิดของความขัดแย้งในองค์การ 1. ตัวแบบการต่อรอง ( bargaining model ) 2. ตัวแบบระบบราชการ / องค์กรขนาดใหญ่ที่ซับซ้อน ( bureaucratic model ) 3. ตัวแบบระบบ ( system model ) conflict
ชนิดของความขัดแย้ง 1. ความขัดแย้งภายในเอกบุคคล 2. ความขัดแย้งระหว่างบุคคล 3. ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม 4. ความขัดแย้งในระดับองค์การ conflict
1. ความขัดแย้งในเอกบุคคล ( intraindividual conflict ) 1) ความคับข้องใจ ( frustration ) 2) ความขัดแย้งในเป้าหมาย ( goal conflict ) approach - approach conflict approach - avoidance conflict avoidance - avoidance conflict conflict
1) วิเคราะห์ในเชิงการติดต่อ 2. ความขัดแย้งระหว่างบุคคล ( interpersonal conflict ) 1) วิเคราะห์ในเชิงการติดต่อ สภาพทางจิต การติดต่อ การติดต่อที่ประกอบกันจนสมบูรณ์ 2) วิเคราะห์จากหน้าต่างโจฮารี ส่วนเปิดเผย ส่วนจุดบอด ส่วนซ่อนเร้น ส่วนลึกลับ conflict
การติดต่อที่ประกอบกันสมบูรณ์ P P P P P P A A A A A A C C C C C C (A) (B) (C) conflict
การติดต่อที่ไขว้กัน P P A A C C conflict
หน้าต่างโจฮารี 1. ส่วนเปิดเผย (open area) 2. ส่วนจุดบอด (blind area) รู้ / ไม่รู้ 1. ส่วนเปิดเผย (open area) 2. ส่วนจุดบอด (blind area) ตนเอง / ผู้อื่น 3. ส่วนซ่อนเร้น (hidden area) 4. ส่วนลึกลับ (unknown area) conflict
วิธีเพื่อการแก้ไขข้อขัดแย้งระหว่างบุคคล 1. วิธีการแบบแพ้ - แพ้ ( lose - lose approach ) 2. วิธีการแบบชนะ - แพ้ (win - lose approach ) 3. วิธีการแบบชนะ - ชนะ (win - win approach ) conflict
3. ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม 1) ชุดของบทบาทที่ที่มีปฏิสัมพันธ์กันและซ้อนกัน 2) กลุ่มเชื่อมโยง 3) ผลกระทบต่อความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม การหลีกเลี่ยง ( avoidance ) การสลายตัว ( defusion) การจำกัดวง ( containment ) การเผชิญหน้า ( confrontation ) conflict
4. ความขัดแย้งระดับองค์การ สาเหตุ 1. เป้าหมายไม่สอดคล้องกัน 2. วิธีการ/การจัดสรรทรัพยากรไม่สอดคล้องกัน 3. สถานภาพไม่สอดคล้องกัน 4. การรับรู้แตกต่างกัน conflict
1) ความขัดแย้งในระดับชั้นการบังคับบัญชา 2) ความขัดแย้งในหน้าที่ ชนิดของความขัดแย้ง 1) ความขัดแย้งในระดับชั้นการบังคับบัญชา 2) ความขัดแย้งในหน้าที่ 3) ความขัดแย้งระหว่างฝ่ายปฏิบัติการและฝ่าย อำนวยการ 4) ความขัดแย้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ conflict
ผลดีและผลเสียของความขัดแย้ง พิจารณาในประเด็นดังนี้ 1. ผลผลิต 2. เสถียรภาพ 3. การปรับเปลี่ยนได้ ผลดี 1. การคิดริเริ่ม เปลี่ยนแปลง 2. การค้นหาแนวคิดใหม่ๆ 3. การหาทางเลือก ผลเสีย 1. ความเครียด 2. เกิดบรรยากาศทางลบ conflict
การจัดการกับข้อขัดแย้ง 1. การแก้ไขข้อขัดแย้งตามแบบที่มีมาแต่ดั้งเดิม 2. การแก้ไขข้อขัดแย้งโดยอาศัยการออกแบบ องค์การใหม่ 3. การแก้ไขข้อขัดแย้งโดยวิธีการเผชิญหน้า conflict
การบริหารความขัดแย้งในองค์การ 1. กำหนดและระเบียบ 2. ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกระแสงาน 3. ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบผลตอบแทน 4. ให้ผู้แทนแต่ละฝ่ายมีส่วนร่วมกำหนดนโยบาย 5. สร้างตำแหน่งพิเศษมีหน้าที่ประนีประนอม 6. ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ด้านการบริหารความขัดแย้ง conflict