MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
Advertisements

CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
2.5 Field of a sheet of charge
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
8.2 Ampere’s Law “อินทริกรัลเชิงเส้นของสนามแม่เหล็กรอบเส้นทางปิดใดๆมีค่าเท่ากับกระแสที่ผ่านเส้นทางปิดนั้น” สำหรับสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสเส้นตรงยาวอนันต์
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
X-Ray Systems.
Welcome to Electrical Engineering KKU.
Chapter 8 The Steady Magnetic Field
9.7 Magnetic boundary conditions
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
ให้นักศึกษาลองดู Example 8.10 และ 8.11 ประกอบ
CHAPTER 18 FOURIER TRANSFORM
CHAPTER 17 FOURIER SERIES
IDEAL TRANSFORMERS.
L1L1 L2L2 V1=jL1IV1=jL1IV2=jL2IV2=jL2I I L รวม = L 1 + L 2 V รวม = j  L 1 I + j  L 2 I = j  I (L 1 +L 2 ) = j  I L รวม I M + j  M + 2M Figure.
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
สื่อการสอนเรื่องแรงบนตัวนำ
การจำลองการทำงานของมอเตอร์ Mono Pole Motor
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
CHAPTER 11 Two-port Networks
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
Second-Order Circuits
CHAPTER 10 AC Power Analysis
ให้ขยับก้านไม้ขีดได้ 3 ก้าน แล้วทำให้ปลาว่ากลับด้านจากซ้ายมาขวา
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
เฉลยแบบฝึกหัด 1.3 # จงหา ก) ข) ค) (ถ้ามี)
หม้อแปลง.
ด.ญ. เปรมศิณี แร่มี เลขที่ 14
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
Sinusiodal Steady-State Analysis
การต่อวงจรบนแผ่นโพโตบอร์ด
Smart Card นำมาประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น บัตรเครดิต, บัตรแทนเงินสด,บัตรแทนสมุดเงินฝาก,บัตรประชาชน,บัตรสุขภาพ,บัตรสุขภาพ,เวชทะเบียนหรือบันทึกการตรวจรักษา.
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
บล็อกไดอะแกรมภาคจ่ายไฟ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Magnetic Particle Testing
สายสัมพันธ์ไฟฟ้า-แม่เหล็ก
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
ตุ๊กตามหัศจรรย์ Magic doll
DC motor.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS บทที่ 13 MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS

MUTUAL INDUCTANCE เมื่อนำขดลวดสองขดมาวางใกล้กัน (ถึงแม้ว่าจะไม่มีการเชื่อมต่อกันทางไฟฟ้าก็ตาม) แต่สนามแม่เหล็ก (ที่มาจากกระแสไฟฟ้า) จากขดลวดขดหนึ่ง จะสามารถเหนี่ยวนำให้เกิดแรงดันขึ้นในขดลวดอีกขดได้ ในขณะเดียวกันสนามแม่เหล็ก (ที่มาจากกระแสไฟฟ้าเช่นกัน) ที่ขดที่สองก็สามารถเหนี่ยวนำให้เกิดแรงดันขึ้นในขดที่หนึ่งได้เช่นกัน เราเรียกวงจรที่มีการเชื่อมต่อกันทางแม่เหล็กนี้ว่า “Magnetically Coupled” สนามแม่เหล็กที่ว่านี้จำเป็นต้องเป็นสนามแม่เหล็กที่แปรตามเวลา (ไม่คงที่) ดังนั้นกระแสที่จะมาสร้างสนามแม่เหล็กจำเป็นต้องเป็นกระแสที่ไม่คงที่เท่านั้น (เป็น DC ไม่ได้)

กระแสไฟฟ้าที่ขดหนึ่ง -> สนามแม่เหล็กเกิดที่ขดหนึ่ง -> สนามแม่เหล็กข้ามมาที่อีกขดหนึ่ง -> แรงดันไฟฟ้าที่อีกขดหนึ่ง ดังนั้นเราจึงถือว่า กระแสไฟฟ้าจากขดหนึ่ง -> แรงดันไฟฟ้าที่อีกขดหนึ่ง เมื่อ M คือ mutual inductance

ปัญหามีอยู่ว่ากระแสก็มีทิศทาง แรงดันก็มีขั้ว แล้วเราจะรู้ได้อย่างไรว่าว่าแรงดันที่เกิดขั้นมีขั้วทางไหน จึงขอกำหนดให้ขดลวดทั้งสองฝั่งมีจุด (dot) ฝั่งละหนึ่งจุดที่ขั้ว ซึ่งการใส่จุดนี้มีกติกาว่า “เมื่อกระแสวิ่งเข้าตรงขั้วที่มีจุด แรงดันที่เกิดขึ้นอีกด้านนั้น ต้องเป็นบวกที่ขั้วที่ใส่จุดเอาไว้” ด้วยการกำหนดอย่างนี้ ทำให้เราไม่ต้องสนใจว่าขดลวดทั้งสองนั้นมีการพันในทิศทางอย่างไร (จะวนซ้าย วนขวา ตามกัน หรือสวนทางกัน)