บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนาฐานข้อมูล บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รุจิรา เหลืองอุบล บรรณารักษ์ชำนาญการ กลุ่มงานบริการ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ความเป็นมา การให้บริการตอบคำถาม และช่วยการค้นคว้า ในปัจจุบัน ผ่านช่องทางต่าง ๆ บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า ชั้น 2 และชั้น 3
msn ความเป็นมา (ต่อ) โทรศัพท์
ปัญหาของการวิจัย ผู้ใช้บริการและผู้ปฏิบัติงาน ยังไม่สามารถสืบค้นคำถามและ คำตอบจากเครื่องมือใด ๆ
จุดมุ่งหมายของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลบริการตอบคำถามและช่วยการ ค้นคว้าแบบออนไลน์ ของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงานที่มีต่อการใช้ฐานข้อมูล บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าแบบออนไลน์ ของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อการใช้ฐานข้อมูล บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าแบบออนไลน์ ของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ผู้ปฏิบัติงาน ประชากร ผู้ใช้บริการ ตั้งแต่ 1-31 ตุลาคม 2552 ผู้ปฏิบัติงาน จำนวน 17 คน กลุ่มตัวอย่าง ผู้ใช้บริการ จำนวน 200 คน
ขั้นตอนและวิธีดำเนินการวิจัย 1. กำหนดปัญหา 2. ศึกษาความต้องการ
ขั้นตอนและวิธีดำเนินการวิจัย 3. ศึกษา สำรวจ และคัดเลือกสารสนเทศคำถามและคำตอบ จากช่องทางต่าง ๆ
ขั้นตอนและวิธีดำเนินการวิจัย 4. วิเคราะห์ระบบ
ฐานข้อมูลบริการตอบคำถาม ผลที่ได้ ฐานข้อมูลบริการตอบคำถาม ถามตอบบรรณารักษ์ คำถามที่พบบ่อย
ผลที่ได้ ผู้ถาม ผู้ตอบ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. ฐานข้อมูลบริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า แบบออนไลน์ 2. แบบสอบถามสำหรับผู้เชี่ยวชาญ 3. แบบสอบถามสำหรับผู้ปฏิบัติงานและผู้ใช้บริการ
การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ปฏิบัติงาน จำนวน 17 คน ตั้งแต่วันที่ 1-31 ตุลาคม 2552 ผู้ใช้บริการ จำนวน 200 คน ตั้งแต่วันที่ 1-31 ตุลาคม 2552
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา
ความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจ ผลการวิจัย ความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจ ผู้เชี่ยวชาญ : ระดับมาก ผู้ปฏิบัติงาน : ระดับมาก ผู้ใช้บริการ : ระดับมาก
ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการประชาสัมพันธ์ 2. ควรมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีเนื้อหาครบถ้วน ครอบคลุม 3. ควรมีการบันทึกสารสนเทศเก็บไว้ใน Server ด้วย 4. ควรนำเสนอสารสนเทศให้ทันสมัย ปรับปรุงสม่ำเสมอ
ประโยชน์ที่ได้ 1. สร้างนวัตกรรมใหม่ในบริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า แบบออนไลน์ 2. เพิ่มช่องทางการบริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า แบบออนไลน์ 3. เป็นทางเลือกให้ผู้ใช้บริการ
ประโยชน์ที่ได้ (ต่อ) 4. นำไปประยุกต์ใช้กับการทำงานในเครือข่ายความร่วมมือ คณะทำงานฝ่ายบริการสารนิเทศ ห้องสมุดอุดมศึกษา
จบการนำเสนอ