เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่.
Advertisements

2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง
ความต่อเนื่อง (Continuity)
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
Vector Analysis ระบบ Coordinate วัตถุประสงค์
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
เวกเตอร์และสเกลาร์ขั้นสูง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมและการชน.
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
Points, Lines and Planes
1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
การประยุกต์ใช้อนุพันธ์
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
ความชันและอัตราการเปลี่ยนแปลง
ผลคูณเชิงสเกลาร์และผลคูณเชิงเวกเตอร์
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
การหาปริพันธ์โดยวิธีแทนที่
CALCULUS III ส่วนที่ 2 : สมการเชิงอนุพันธ์ อาจารย์ ดร.เจษฎา ตัณฑนุช.
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง.
ฟังก์ชัน y เป็นฟังก์ชันของ x ก็ต่อเมื่อ มีความสัมพันธ์ระหว่าง x และ y โดยเราสามารถหาค่า y ได้เมื่อกำหนดค่าของ x ให้ เช่น y = x2+1 เรียก y.
งานและพลังงาน (Work and Energy).
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
หน่วยที่ 12 การประยุกต์อินทิกรัลหลายชั้น
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
เวกเตอร์(Vector) โดย มาสเตอร์พิทยา ครองยุทธ
ระบบอนุภาค.
การหาปริพันธ์ (Integration)
Function and Their Graphs
Quadratic Functions and Models
เครื่องเคาะสัญญาณ.
Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Force Vectors (2) WUTTIKRAI CHAIPANHA
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน Derivative of function
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
ความชันและสมการเส้นตรง
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เส้นโค้งกับอนุพันธ์ สัมพันธ์กันอย่างไร?
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space) ในการคำนวณทางเรขาคณิตในระบบสามมิติมักจะเริ่มต้น ด้วยการศึกษาเกี่ยวกับเส้นตรงและระนาบ โดยในการศึกษา เรื่องนี้จะใช้รากฐานความรู้ในเรื่องผลคูณเชิงสเกลาร์และ ผลคูณเชิงเวกเตอร์เป็นหลัก ความรู้ในเรื่องเส้นตรงและ ระนาบ สามารถนำไปประยุกต์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับเส้นโค้ง ในสามมิติต่อไป

ขนานกัน ถ้า v เป็นเวกเตอร์ใดๆ ที่ขนานกับเส้นตรง L แล้ว

The standard parametric equation of the line. เราเรียกสมการทั้งสาม นี้ว่า สมการอิงตัวแปรเสริมมาตรฐานสำหรับเส้นตรง The standard parametric equation of the line.

P0(x0,y0 ,z0) และขนานกับเวกเตอร์ v=<v1, v2, v3> หมายเหตุ สมการอิงตัวแปรเสริมสำหรับเส้นตรงที่ผ่านจุด P0(x0,y0 ,z0) และขนานกับเวกเตอร์ v=<v1, v2, v3> เป็นไปได้หลายสมการ!!!

ระนาบในสามมิติ ระนาบ xy ระนาบ xz ระนาบ yz

เวกเตอร์แนวฉาก (normal vector) เรียกเวกเตอร์ที่ตั้งฉากกับระนาบว่า เวกเตอร์แนวฉาก (normal vector)

และเวกเตอร์ดังกล่าวต้องตั้งฉากกับ normal vector <A,B,C> ดังนั้น จะได้ว่า

ดังนั้นสมการระนาบคือ หรือ หรือ เมื่อ

ฟังก์ชันเชิงเวกเตอร์ และ เส้นโค้งใน 3 มิติ (Vector-Valued Functions and Space Curves) จากแนวคิดเรื่องเวกเตอร์ และ สมการอิงตัวแปรเสริมสำหรับ เส้นตรงใน 3 มิติ เราสามารถขยายแนวความคิดไปสู่ สมการ อิงตัวแปรเสริมสำหรับเส้นโค้งและสมการอิงตัวแปรเสริม ในรูปแบบเวกเตอร์ ซึ่งสามารถนำความรู้นี้ไปใช้อธิบาย ปรากฏการณ์หลายๆ อย่างในฟิสิกส์และวิศวกรรมได้

The standard parametric equation of the line. สมการอิงตัวแปรเสริมมาตรฐานสำหรับเส้นตรง The standard parametric equation of the line.

The parametric equation of the curves สมการอิงตัวแปรเสริมสำหรับเส้นโค้ง The parametric equation of the curves โดยที่ I เป็นช่วงที่พิจารณา

จุด ทำให้เกิดเส้นโค้งในสามมิติเช่น สมการเกลียว หรือ เฮลิกซ์ (helix)

เราสามารถสร้างเวกเตอร์บอกเส้นทางการเคลื่อนที่ของจุด ได้คือ หรือ

ถ้าฟังก์ชัน มีความต่อเนื่องที่จุด เวกเตอร์ มีความต่อเนื่องที่จุด ด้วย

จงหาค่าลิมิตของ ณ จุด

ถ้าฟังก์ชัน สามารถหาอนุพันธ์ที่จุด เวกเตอร์ สามารถหาอนุพันธ์ที่จุด ด้วย

ถ้าเวกเตอร์ สามารถหาอนุพันธ์ที่จุด t ใดบนโดเมนแล้ว และมีความหมายในเชิงเรขาคณิต คือ เป็นเวกเตอร์ ซึ่งขนานกับเส้นสัมผัสกับเส้นโค้งดังกล่าว ณ จุด t

ความหมายของอนุพันธ์ของ r(t) ในเชิงฟิสิกส์ หมายถึง ความเร็ว (velocity)ของวัตถุนั้น มักใช้สัญลักษณ์ v(t) 2. หมายถึง อัตราเร็ว (speed)ของวัตถุ มักใช้สัญลักษณ์ s(t) 3. หมายถึง ทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ

ความหมายของอนุพันธ์ของ r(t) ในเชิงฟิสิกส์ หมายถึง ความเร่ง (acceleration)ของวัตถุนั้น มักใช้สัญลักษณ์ a(t) 5. หมายถึง อัตราเร่ง ของวัตถุ 6. เรียกว่า Jerk (Jerk - การกระตุก)

ให้ r(t) แทนตำแหน่งของวัตถุที่เวลา t ใดๆ จงหาความเร็ว, อัตราเร็ว,ความเร่ง และอัตราเร่งของวัตถุดังกล่าว 1. 2. 3.

ให้ r(t) แทนตำแหน่งของวัตถุที่เวลา t ใดๆ 1. 2.

กฎการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันเชิงเวกเตอร์ 1. ถ้า C เป็นเวกเตอร์ที่คงตัวแล้ว เวกเตอร์ 0 2. ถ้า เป็นค่าคงตัวใดๆ แล้ว

ฟังก์ชันของ t (ไม่ใช่เวกเตอร์)

4. อนุพันธ์ของผลบวกเวกเตอร์ = ผลบวกของเวกเตอร์อนุพันธ์ 5. อนุพันธ์ของผลต่างเวกเตอร์ = ผลต่างของเวกเตอร์อนุพันธ์

สเกลาร์ (ฟังก์ชันของ t) 6. อนุพันธ์ของผลคูณเชิงสเกลาร์ (dot product) เวกเตอร์ สเกลาร์ (ฟังก์ชันของ t)

7. อนุพันธ์ของผลคูณเชิงเวกเตอร์ (cross product) ห้ามสลับตำแหน่ง ห้ามสลับตำแหน่ง เวกเตอร์

8. กฎลูกโซ่ (chain rule)

ให้ u = <u1(t), u2(t), u3(t)>, v = <v1(t), v2(t), v3(t)>, w = <w1(t), w2(t), w3(t)> จงหา

จงแสดงว่า

|r(t)|=c |r(t)|= ฟังก์ชันเชิงเวกเตอร์ที่มีความยาวคงตัว

เราพบว่าฟังก์ชันเชิงเวกเตอร์ที่มีความยาวคงตัวมีคุณสมบัติคือ นั่นแสดงให้เห็นว่า ถ้าฟังก์ชันเชิงเวกเตอร์ที่มีความยาวคงตัว ฟังก์ชันดังกล่าวและอนุพันธ์ของฟังก์ชันต้องตั้งฉากกัน

จงแสดงว่าฟังก์ชันเชิงเวกเตอร์ มีความยาวคงตัว

ให้ r(t) ฟังก์ชันเชิงเวกเตอร์ จงหา เมื่อ สำหรับทุกๆ ค่า t

ให้ r(t) แทนตำแหน่งของวัตถุที่เวลา t ใดๆ จงหาความเร็ว, อัตราเร็ว,ความเร่ง,อัตราเร่งและทิศทางการเคลื่อนที่ ของวัตถุดังกล่าว เมื่อ t=1