อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
มูลนิธิสถาบันที่ดิน 9 กรกฎาคม 2550
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Priciples of Marketing
การบริหารกลุ่มและทีม
หลักการพัฒนา หลักสูตร
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ แนวคิดเกี่ยวกับขอบเขตและประเภทของแหล่งสารสนเทศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
ผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
บทที่ 4 กระบวนการตัดสินใจ
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
The General Systems Theory
การเขียนโครงการ.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การนำผลการวิจัยไปใช้
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
แนวทางการพัฒนา e-Learning ให้ประสบผลสำเร็จด้วย รูปแบบเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถมนุษย์ Human Performance Technology Model ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
กรอบในการวิเคราะห์ ผลกระทบจากโครงการ พัฒนาของรัฐ.
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ICTs จะช่วยอำนวยความสะดวกในการพัฒนาประเทศใน 3 ลักษณะ
ADDIE Model.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
หลักการเขียนโครงการ.
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข ผู้ใช้สารสนเทศ อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข

หน่วยที่ 4 4. การใช้สารสนเทศ 4.1 ความหมายของการใช้สารสนเทศ 4.2 วิธีการที่บุคคลใช้สารสนเทศ 4.3 ลักษณะการใช้สารสนเทศในองค์การ 4.4 การใช้สารสนเทศในสภาพแวดล้อม ทางอิเล็กทรอนิกส์

4.1 ความหมายของการใช้สารสนเทศ การใช้สารสนเทศ (Information Use) หมายถึงการกระทำใดๆ ของบุคคลกับสารสนเทศที่ได้จัดหาหรือรับมา (Choo et al., 2000: 14)

การใช้สารสนเทศ เป็นกระบวนการต่อเนื่องที่ผู้ใช้ดำเนินการต่อจากการมีพฤติกรรมแสวงหาสารสนเทศ (Information-seeking Behavior) และความต้องการสารสนเทศ (Information Need)

4.2 วิธีการที่บุคคลใช้สารสนเทศ 1. Instrumental Use: การนำสารสนเทศไปใช้ในการตัดสินใจหรือแก้ปัญหาโดยตรง 2. Conceptual Use: การนำสารสนเทศไปใช้โดยอ้อมเพื่อขยายฐานความรู้ มิใช่เพื่อกิจกรรมใดโดยเฉพาะ

3. Symbolic Use: การใช้สารสนเทศเพื่อสนับสนุนแนวคิดที่มีหรือการตัดสินใจที่เกิดขึ้นแล้ว เช่น เพื่อโน้มน้าวให้ผู้อื่นคล้อยตามหรือให้การสนับสนุนในการดำเนินกิจกรรมหนึ่งๆ หรือเพื่อเพิ่มความแข็งแกร่งของอำนาจทางการเมืองของบุคคล (Feldman and March, 1981: 177)

4.3 ลักษณะการใช้สารสนเทศในองค์การ 1. Much of the information that is gathered and communicated has little relevance to decisions that are made. 2. Information is very often used to justify decisions that have been made and is often collected after the decision has been made.

3. Information is often used for purposes for which it was not requested. 4. Much more information is often requested regardless of the information that may be available at the start of the decision-making process.

5. People will complain about the unavailability of information to make a decision while they continue to ignore information that is available. 6. People will often collect more information than they can actually use or expect to use for a decision and

the relevance of the available information is not always clear because the decision-makers appear to be constantly needing information, requesting more information while complaining about the inadequacy of the information (Feldman and March, 1981: 174).

4.1 แนวคิดเรื่องการใช้สารสนเทศ (ต่อ) Model พฤติกรรมสารสนเทศ (Information Behavior) ของวิลสัน (Wilson) ที่สร้างขึ้นในปี ค.ศ.1981 ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่ ผู้ใช้สารสนเทศ (Information Users) เกิดความต้องการสารสนเทศ (Information Need)

จึงเป็นแรงผลักดันให้เกิดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ (Information-seeking Behavior) โดยผู้ใช้ค้นจากระบบสารสนเทศ(Demands on Information System) หรือจากแหล่งสารสนเทศอื่นๆ (Demands on other Information Sources) การค้นหานี้อาจประสบความสำเร็จ (Success)

หรือล้มเหลว (Failure) ทำให้ต้องกลับไปสู่การค้นหาใหม่ จากนั้นจึงนำไปสู่การใช้สารสนเทศ (Information Use) ซึ่งอาจทำให้ผู้ใช้พึงพอใจหรือไม่พึงพอใจ (Satisfaction or non-satisfaction) ความพึงพอใจหรือไม่พึงพอใจอาจกระตุ้นให้เกิดความต้องการสารสนเทศได้อีก พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศดังกล่าว

เชื่อมโยงกับการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ (Information Exchange) การถ่ายทอดสารสนเทศ (Information Transfer) ซึ่งวิลสันชี้ให้เห็นว่าการใช้สารสนเทศเป็นส่วนที่มีการศึกษาวิจัยมากกว่าส่วนอื่นๆ ของ Model

Information User Need Satisfaction or Non-satisfaction Information- Seeking Behavior Information Exchange Information Use Demands on Information Systems Demands on Other Information Sources Other People Success Failure Information Transfer

การศึกษาเกี่ยวกับการใช้สารสนเทศครอบคลุมการใช้บริการสารสนเทศซึ่งอาจเน้นที่ตัวผู้ใช้ ระบบสารสนเทศและประโยชน์ที่ได้รับ เช่น ใคร ใช้อะไร มีวัตถุประสงค์ใด ใช้อย่างไร การใช้ห้องสมุด/ ระบบสารสนเทศ/ สารสนเทศ มีผลกระทบต่อผู้ใช้อย่างไร โดยมีตัวแปรต่างๆ เช่น อายุ ระดับการศึกษา สาขาอาชีพ สภาพแวดล้อมทางการงาน เป็นต้น

การศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้เป็นเรื่องที่เกี่ยวพันกับการใช้สารสนเทศ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการสำรวจความคิดเห็นที่ผู้ใช้มีต่อบริการสารสนเทศ การประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ที่มีต่อระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ การวัดคุณภาพของสารสนเทศที่เป็นผลลัพท์จากระบบ เช่น ความถูกต้อง ความเข้าเรื่อง ความสมบูรณ์ ความทันการ เป็นต้น

4.4 การใช้สารสนเทศในสภาพแวดล้อม ทางอิเล็กทรอนิกส์ 4.4 การใช้สารสนเทศในสภาพแวดล้อม ทางอิเล็กทรอนิกส์ ปัจจุบันการแปลงเอกสารให้อยู่ในรูปดิจิทัลได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว โครงการดิจิทัลเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทั้งที่เป็นเชิงพาณิชย์และโครงการของรัฐระดับชาติหรือระดับท้องถิ่น

อินเทอร์เน็ตคือแหล่งสารสนเทศลำดับแรกที่ผู้ใช้คาดหวังว่าจะสามารถหาสารสนเทศที่เชื่อถือได้ ผู้แสวงหาสารสนเทศจึงมักเริ่มต้นค้นหาสารสนเทศจากเว็บไซต์ การผลิตหนังสือและวารสารในรูปสิ่งพิมพ์ลดลงและเปลี่ยนเป็น Print – on – Demand

ทำอย่างไรสถาบันบริการสารสนเทศจึงจะจัดบริการให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ภายใต้ข้อจำกัดต่างๆได้ เช่น งบประมาณลดลงหรือคงที่ ระบบสารสนเทศใช้ยาก ผู้ใช้ขาดทักษะในการใช้ระบบ