สัปดาห์ที่ 5 เรื่อง การจูงใจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เปลี่ยนวิธีคิด…พลิกชีวิตคุณ (Change your thinking…Change your life)
Advertisements

ปรับพฤติกรรมสุขภาพ.
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ผู้นำ การจูงใจ การจูงใจคืออะไร
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การสร้างแรงจูงใจในชีวิต ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
บทที่ 6 พฤติกรรมผู้บริโภค.
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
วิธีการทางสุขศึกษา.
พฤติกรรมองค์การ ( Organization Behavior )
อารมณ์และความต้องการของวัยรุ่น
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
อารมณ์ (Emotion) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
บทที่ 3: แรงจูงใจ (อ.ชมพูนุท ศรีจันทร์นิล)
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
มนุษย์ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม มนุษย์เป็นสัตว์โลก มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ
การจูงใจ Motivation ดร.พงษ์ศักดิ์ ทองพันชั่ง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.
“การพัฒนากลุ่มเกษตรกรที่ร่วมโครงการฯ ให้เกิดความเข้มแข็ง”
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
กระบวนในการชักจูงใจ.
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
การจูงใจ (Motivation)
สุขภาพจิต และการปรับตัว
บทที่ 3 แรงจูงใจในการทำงาน.
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
คัชชาตา เจริญวงค์ นักจิตวิทยาคลินิก ศูนย์สุขภาพจิตที่ 4 กรมสุขภาพจิต
(Organizational Behaviors)
(Individual and Organizational)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
หลักสำคัญ 5 ประการ 1.ความรู้สึกปลอดภัย 2.ความรู้สึกสงบ 3.การตระหนักรู้ถึงศักยภาพ 4.การประสานรวมพลังของชุมชน 5.การมีความหวัง.
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
การสร้างวินัยเชิงบวก
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
เราเป็นผู้นำ.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การจูงใจ(Motivation)
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
ทฤษฎีความต้องการของ แมคคลีแลนด์...?
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 2 เรื่อง ค่านิยมที่ดีและเหมาะสม ของเพื่อนสนิท.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สัปดาห์ที่ 5 เรื่อง การจูงใจ

หัวข้อ การจูงใจและความสำคัญต่อพฤติกรรม ทฤษฎีการจูงใจ การจูงใจกับการเรียนการสอนและการทำงาน การจูงใจกับงานสาธารณสุข ขอบเขตในการดำเนินงานสุขศึกษา

1.การจูงใจและความสำคัญต่อพฤติกรรม 1. แนวคิดหลักของการจูงใจ 2. ลักษณะพฤติกรรมภายใต้ภาวะการจูงใจ 3. ประเภทของการจูงใจ 4. ความสำคัญของการจูงใจต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

แนวคิดหลักของการจูงใจ การจูงใจ หมายถึง ? สภาพการณ์ที่เกิดขึ้นในตัวบุคคล ที่ทำให้บุคคลนั้นแสดงพฤติกรรม ไปในทิศทางของเป้าหมายที่ตั้งไว้

ลักษณะพฤติกรรมภายใต้ภาวะการจูงใจ 1. มีพลัง (Energizing /Activation) 2. มีทิศทาง (Direction) 3. มีความรู้สึกยึดมั่นที่ต้องการจะบรรลุเป้าหมาย (Sustraining)

ประเภทของการจูงใจ 1. แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic Motivation) 2. แรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motivation) 3. แรงจูงใจที่เกิดจากความต้องการภายในร่างกาย (Internal Motivation)

ความสำคัญของการจูงใจ เป็นตัวผลักดันให้บุคคลเปลี่ยน แปลงพฤติกรรม โดย จากขาด -ให้มี ควากระตือรือร้น มีพลัง สนใจในการกระทำสิ่งต่างๆ

2. ทฤษฎีของการจูงใจ 1. ทฤษฎีความต้องการ แรงผลักดัน สิ่งล่อใจ 2. ทฤษฎีสิ่งเร้า 3. ทฤษฎีการเร้าทางอารมณ์ 4. ทฤษฎีความรู้ความเข้าใจ 5. ทฤษฎีการจูงใจของเดวิด แมกเคอร์แลนด์ 6. ทฤษฎีการจูงใจของอับราฮัม มาสโลว์ 7. ทฤษฎีการจูงใจของเดอริค เฮิสร์เบริก

ทฤษฎีความต้องการแรงผลักดัน ความต้องการของร่างกาย (need) แรงผลักดัน (drive) แสดงพฤติกรรมหรือกิจกรรม (activity) บรรลุเป้าหมาย (incentive)

ตัวอย่าง ทฤษฎีความต้องการแรงผลักดัน เจ็บปวด แรงผลักดันหลีกเลี่ยงการเจ็บปวด ไปพบแพทย์ รับการรักษาให้หายจากการเจ็บปวด

ปฏิกิริยาโต้ตอบ (ตามนิสัย) ทฤษฎีสิ่งเร้า สิ่งเร้า บุคคล ปฏิกิริยาโต้ตอบ (ตามนิสัย)

ตัวอย่าง ทฤษฎีสิ่งเร้า ปวดศีรษะ นายพฤหัส หยิบยาแก้ปวดมารับประทาน (ตามนิสัยที่เคยทำ)

ทฤษฎีการเร้าทางอารมณ์ “พฤติกรรมการจูงใจของบุคคลนั้นเกิดขึ้นเพราะความรู้สึกของบุคคล” เช่น สอบตก เสียใจ ดื่มเหล้า

ทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ “พฤติกรรมการจูงใจของบุคคลนั้นเกิดขึ้นเพราะความรู้สึกของบุคคล” เช่น สอบตก เสียใจ ดื่มเหล้า

ทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ + ความคาดหวังในสิ่งที่จะเกิดขึ้น แสดงพฤติกรรม

ตัวอย่าง ทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ ยุงนำเชื้อมาลาเรีย + ความว่าจะเจ็บป่วยและเสียเงินรักษา หลีกเลี่ยงการถูกยุงกัด

ทฤษฎีของ เดวิด แมกเคอร์แลน ทฤษฎีของ เดวิด แมกเคอร์แลน บุคคลจะมีแรงจูงใจ จาก ความต้องการสัมฤทธิผลในการกระทำต่างๆ เกิดจาก แรงจูงใจภายในตัวบุคคล

ทฤษฎีของ อับราฮัม มาสโลว์ แบ่งเป็น 5 ลำดับ ดังนี้ 1. ความต้องการทางร่างกาย 2. ความต้องการมั่นคงปลอดภัย 3. ความต้องการความรัก 4. ความต้องการชื่อเสียง 5. ความต้องการสำเร็จและสร้างสรรค์ชีวิต

ทฤษฎีของ เพอร์เดอริค เฮิสร์เบริก ทฤษฎีของ เพอร์เดอริค เฮิสร์เบริก ขึ้นอยู่กับปัจจัย 2 ประการ คือ 1. ปัจจัยลบ (Hygiene Factors) 2. ปัจจัยบวก (Motivator Factors)

3. การจูงใจกับการเรียนการทำงาน 1. เทคนิคในการจูงใจในการเรียน 2. เทคนิคในการจูงใจในการงาน

เทคนิคการจูงใจในการเรียน 1. การให้ข้อมูลที่ชัดเจน 2. วิธีการสอนที่เร้าความสนใจของผู้เรียน 3. การชมผู้เรียน 4. การติ เตียน 5. การลงโทษ

เทคนิคการจูงใจในการเรียน 6. การบอกผลงานให้ทราบ 7. การแข่งขัน 8. การให้รางวัล 9. การให้มีส่วนร่วมในการเรียน 10. การจัดสภาพห้องให้เหมาะสม 11. การทดสอบ

เทคนิคการจูงใจในการทำงาน 1. การคัดเลือกบุคคลที่มีความเหมาะสม และมีความตั้งใจในการทำงาน 2. การมอบงานให้เหมาะสมกับความสามารถของบุคคล 3. การยกย่องทางสังคม 4. การให้รางวัล 5. การติดตามผลงาน 6. การใช้อิทธิพลของกลุ่ม

เทคนิคการจูงใจในการทำงาน 7. การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในหน่วยงาน 8. การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน 9. การให้มีส่วนร่วมในงาน

4. การจูงใจในงานสาธารณสุข การจูงใจกับสุขภาพในชีวิตประจำวัน การขาดความร่วมมือจากชุมชนในการสาธารณสุข การใช้เทคนิคการจูงใจเพื่อให้ชุมชนร่วมมือ

เทคนิคการจูงใจชุมชน 1. การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานทุกขั้นตอน 2. การให้ข้อมูล 3. การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับประชาชน 4. การให้การยอมรับทางสังคม 5. การให้รางวัล 6. การให้สิทธิพิเศษบางประการ 7. การใช้อิทธิพลของผู้นำ 8. ดำเนินงานให้สนองต่อความต้องการของประชาชน

คำถาม ? 1. แรงจูงใจ คือ ? 2. อะไร ? เป็นแรงจูงใจให้นัก ศึกษาเลือกเรียนใน มทส. 3. แรงจูงใจนั้นเป็น ชนิดใด ?