สัปดาห์ที่ 5 เรื่อง การจูงใจ
หัวข้อ การจูงใจและความสำคัญต่อพฤติกรรม ทฤษฎีการจูงใจ การจูงใจกับการเรียนการสอนและการทำงาน การจูงใจกับงานสาธารณสุข ขอบเขตในการดำเนินงานสุขศึกษา
1.การจูงใจและความสำคัญต่อพฤติกรรม 1. แนวคิดหลักของการจูงใจ 2. ลักษณะพฤติกรรมภายใต้ภาวะการจูงใจ 3. ประเภทของการจูงใจ 4. ความสำคัญของการจูงใจต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
แนวคิดหลักของการจูงใจ การจูงใจ หมายถึง ? สภาพการณ์ที่เกิดขึ้นในตัวบุคคล ที่ทำให้บุคคลนั้นแสดงพฤติกรรม ไปในทิศทางของเป้าหมายที่ตั้งไว้
ลักษณะพฤติกรรมภายใต้ภาวะการจูงใจ 1. มีพลัง (Energizing /Activation) 2. มีทิศทาง (Direction) 3. มีความรู้สึกยึดมั่นที่ต้องการจะบรรลุเป้าหมาย (Sustraining)
ประเภทของการจูงใจ 1. แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic Motivation) 2. แรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motivation) 3. แรงจูงใจที่เกิดจากความต้องการภายในร่างกาย (Internal Motivation)
ความสำคัญของการจูงใจ เป็นตัวผลักดันให้บุคคลเปลี่ยน แปลงพฤติกรรม โดย จากขาด -ให้มี ควากระตือรือร้น มีพลัง สนใจในการกระทำสิ่งต่างๆ
2. ทฤษฎีของการจูงใจ 1. ทฤษฎีความต้องการ แรงผลักดัน สิ่งล่อใจ 2. ทฤษฎีสิ่งเร้า 3. ทฤษฎีการเร้าทางอารมณ์ 4. ทฤษฎีความรู้ความเข้าใจ 5. ทฤษฎีการจูงใจของเดวิด แมกเคอร์แลนด์ 6. ทฤษฎีการจูงใจของอับราฮัม มาสโลว์ 7. ทฤษฎีการจูงใจของเดอริค เฮิสร์เบริก
ทฤษฎีความต้องการแรงผลักดัน ความต้องการของร่างกาย (need) แรงผลักดัน (drive) แสดงพฤติกรรมหรือกิจกรรม (activity) บรรลุเป้าหมาย (incentive)
ตัวอย่าง ทฤษฎีความต้องการแรงผลักดัน เจ็บปวด แรงผลักดันหลีกเลี่ยงการเจ็บปวด ไปพบแพทย์ รับการรักษาให้หายจากการเจ็บปวด
ปฏิกิริยาโต้ตอบ (ตามนิสัย) ทฤษฎีสิ่งเร้า สิ่งเร้า บุคคล ปฏิกิริยาโต้ตอบ (ตามนิสัย)
ตัวอย่าง ทฤษฎีสิ่งเร้า ปวดศีรษะ นายพฤหัส หยิบยาแก้ปวดมารับประทาน (ตามนิสัยที่เคยทำ)
ทฤษฎีการเร้าทางอารมณ์ “พฤติกรรมการจูงใจของบุคคลนั้นเกิดขึ้นเพราะความรู้สึกของบุคคล” เช่น สอบตก เสียใจ ดื่มเหล้า
ทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ “พฤติกรรมการจูงใจของบุคคลนั้นเกิดขึ้นเพราะความรู้สึกของบุคคล” เช่น สอบตก เสียใจ ดื่มเหล้า
ทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ + ความคาดหวังในสิ่งที่จะเกิดขึ้น แสดงพฤติกรรม
ตัวอย่าง ทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ ยุงนำเชื้อมาลาเรีย + ความว่าจะเจ็บป่วยและเสียเงินรักษา หลีกเลี่ยงการถูกยุงกัด
ทฤษฎีของ เดวิด แมกเคอร์แลน ทฤษฎีของ เดวิด แมกเคอร์แลน บุคคลจะมีแรงจูงใจ จาก ความต้องการสัมฤทธิผลในการกระทำต่างๆ เกิดจาก แรงจูงใจภายในตัวบุคคล
ทฤษฎีของ อับราฮัม มาสโลว์ แบ่งเป็น 5 ลำดับ ดังนี้ 1. ความต้องการทางร่างกาย 2. ความต้องการมั่นคงปลอดภัย 3. ความต้องการความรัก 4. ความต้องการชื่อเสียง 5. ความต้องการสำเร็จและสร้างสรรค์ชีวิต
ทฤษฎีของ เพอร์เดอริค เฮิสร์เบริก ทฤษฎีของ เพอร์เดอริค เฮิสร์เบริก ขึ้นอยู่กับปัจจัย 2 ประการ คือ 1. ปัจจัยลบ (Hygiene Factors) 2. ปัจจัยบวก (Motivator Factors)
3. การจูงใจกับการเรียนการทำงาน 1. เทคนิคในการจูงใจในการเรียน 2. เทคนิคในการจูงใจในการงาน
เทคนิคการจูงใจในการเรียน 1. การให้ข้อมูลที่ชัดเจน 2. วิธีการสอนที่เร้าความสนใจของผู้เรียน 3. การชมผู้เรียน 4. การติ เตียน 5. การลงโทษ
เทคนิคการจูงใจในการเรียน 6. การบอกผลงานให้ทราบ 7. การแข่งขัน 8. การให้รางวัล 9. การให้มีส่วนร่วมในการเรียน 10. การจัดสภาพห้องให้เหมาะสม 11. การทดสอบ
เทคนิคการจูงใจในการทำงาน 1. การคัดเลือกบุคคลที่มีความเหมาะสม และมีความตั้งใจในการทำงาน 2. การมอบงานให้เหมาะสมกับความสามารถของบุคคล 3. การยกย่องทางสังคม 4. การให้รางวัล 5. การติดตามผลงาน 6. การใช้อิทธิพลของกลุ่ม
เทคนิคการจูงใจในการทำงาน 7. การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในหน่วยงาน 8. การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน 9. การให้มีส่วนร่วมในงาน
4. การจูงใจในงานสาธารณสุข การจูงใจกับสุขภาพในชีวิตประจำวัน การขาดความร่วมมือจากชุมชนในการสาธารณสุข การใช้เทคนิคการจูงใจเพื่อให้ชุมชนร่วมมือ
เทคนิคการจูงใจชุมชน 1. การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานทุกขั้นตอน 2. การให้ข้อมูล 3. การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับประชาชน 4. การให้การยอมรับทางสังคม 5. การให้รางวัล 6. การให้สิทธิพิเศษบางประการ 7. การใช้อิทธิพลของผู้นำ 8. ดำเนินงานให้สนองต่อความต้องการของประชาชน
คำถาม ? 1. แรงจูงใจ คือ ? 2. อะไร ? เป็นแรงจูงใจให้นัก ศึกษาเลือกเรียนใน มทส. 3. แรงจูงใจนั้นเป็น ชนิดใด ?