การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
สถาปัตยกรรมแบบ stack และ การผลิตโค๊ด
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
ซอฟต์แวร์.
และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 2 วิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์
โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
ลักษณะระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
Historical data analysis
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
Surachai Wachirahatthapong
ข้อดีของฐานข้อมูล 1. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล โดยข้อมูลเรื่องเดียวกันอาจมีอยู่หลายแฟ้มข้อมูล ซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งของข้อมูลได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ภาควิชา เทคโนโลยีการศึกษา
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Minitab for Product Quality
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ข้อมูล & สารสนเทศ ข้อมูล ( Data) - ข้อเท็จจริงที่ได้จากการ สังเกตุ หรือสำรวจความเป็นไปของเหตุการณ์ ของโลกเพื่อให้เกิดความเข้าใจในเหตุการณ์ นั้น สารสนเทศ.
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
System Development Lift Cycle
การวิเคราะห์ข้อมูล.
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การวิเคราะห์สถิติ SPSS for Windows
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ม.4/2 โรงเรียนมัธยมวัดป่ามะไฟ
หน่วยที่ 1 รู้จักกับฐานข้อมูล
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
Software ซอฟต์แวร์.
WBI คืออะไร   WBI หรือ Web Base Instruction เป็นการจัดกิจกรรมการสอนใน รูปแบบของ Web Knowledge Based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา.
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์สำนักงาน 2
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
ระบบฐานข้อมูล.
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การวิจัยนิเทศศาตร์FCA2101
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล อ. วีระ ปิยธีรวงศ์

Overview (I) โปรแกรมขนาดใหญ่ SPSS (Statistical Package for the Social Science) SAS (Statistical Analysis System) โปรแกรมขนาดเล็ก (งานวิเคราะห์ที่ไม่ซับซ้อนมาก) Excel, Statistix, Minitab, Design expert, etc.

การเลือกใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สามารถใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่ว ๆ ไปได้ (เช่น PC หรือ notebook) สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ไม่น้อยกว่า 100 ชุด และแต่ละชุดไม่ควรต่ำกว่า 50 ตัวแปร สามารถอ่านข้อมูลที่บันทึกอยู่บนสื่อได้หลายประเภท รวมทั้งสามารถป้อนข้อมูลได้แป้นพิมพ์ สามารถอ่านข้อมูลจากข้อมูลแบบมาตรฐาน ที่เรียกว่า ASCII ได้

การเลือกใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สามารถสร้างแฟ้มข้อมูล (data file) หรือไฟล์ข้อมูลเองได้ และสามารถสร้างเป็นรหัสมาตรฐานได้ เพื่อให้สามารถนำกลับไปใช้กับโปรแกรมอื่นได้ สามารถจัดเก็บข้อมูลในลักษณะต่างๆ ได้ เช่น การเปลี่ยนรูปข้อมูล, การจัดค่าใหม่ หรือการจัดกลุ่มตัวแปรใหม่, การคัดเลือกข้อมูลบางส่วนมาทำการวิเคราะห์ได้

การเลือกใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติได้หลายระดับ การคำนวนค่าสถิติพื้นฐาน เช่น ค่าเฉลี่ย, ค่าฐานนิยม, ความแปรปรวน เป็นต้น การสร้างตารางแจกแจงความถึ่แบบทางเดียว และหลายทาง การเขียนกราฟในลักษณะต่าง ๆ การหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร การวิเคราะห์การถดถอย และความแปรปรวน