ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
Advertisements

“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
การปรับเปลี่ยนวิธีคิดทำงานใหม่
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
กิจกรรมที่ 1 1. ให้ท่านอ่านกรณีศึกษาที่ท่านได้รับ
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
Medication reconciliation
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
สังคมต้นแบบเรียนรู้การป้องกัน และดูแลโรคกระดูกพรุน
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
โครงการนำร่อง การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคกลุ่มแรงงาน
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
บทเรียนการดำเนินการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ แบบครบวงจร
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI)
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ เครือข่ายโรงพยาบาลสงขลา
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
Easy COPD clinic … Easy to Practice and Achieve
ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม.
เลิกบุหรี่ ปรึกษาได้ที่คลินิกอดบุหรี่
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI )
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรทางการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีฐานเทคโนโลยี
นายภูวดล เพ็ญนาดี วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การปรับพฤติกรรมสุขภาพ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และการให้คำปรึกษาเลิกบุหรี่ ในคลินิกเลิกบุหรี่ หน่วยระบบทางเดินหายใจ เจ้าของผลงาน : หน่วยระบบทางเดินหายใจ โทร. 043-366224 สังกัด : แผนกการพยาบาลอายุรกรรม งานบริการพยาบาล โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Share & Learn 2013 ความเป็นมาและแนวคิด การสูบบุหรี่เป็นปัญหา และปัจจัยเสี่ยงก่อโรคร้ายแรงซึ่งสามารถป้องกันได้ เช่น โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และโรคหัวใจ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ มีนโยบายชัดเจนเป็น “โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ” ใช้กระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจ สร้างกำลังใจ เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ดีขึ้น หน่วยระบบทางเดินหายใจ ดำเนินคลินิกเลิกบุหรี่และรณรงค์การเลิกสูบบุหรี่กับผู้รับบริการและบุคลากรเป็นประจำทุกปี โดย คัดกรองการสูบบุหรี่ผู้ใช้บริการทุกราย ก่อนตรวจสมรรถภาพปอด การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดกรองผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังและผลของการให้คำปรึกษาในคลินิกเลิกบุหรี่ วิธีการดำเนินการ (How to) ระยะเวลาการศึกษาระหว่างเดือน สิงหาคม 2555 – เมษายน 2556 ดำเนินการ โดยการคัดกรองประวัติการสูบบุหรี่ก่อนตรวจสมรรถภาพปอดทุกราย และให้คำปรึกษาผู้ป่วยเพื่อลิกสูบบุหรี่ทุกราย โดยใช้ กระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง PDCA P = Plan ขั้นตอนที่ 1 : คัดกรองประวัติการสูบบุหรี่ ขั้นตอนที่ 2 : ตอบแบบสอบถามประเมินภาวะสุขภาพ และระดับการติดบุหรี่ A = Act ผู้ป่วยที่ยังไม่เลิกสูบบุหรี่ได้สอบถามปัญหาอุปสรรค สิ่งที่ต้องการให้บุคลากรช่วยเหลือ นัดมาตรวจสมรรถภาพปอด 1 ปีให้กำลังใจ กระตุ้น ให้กำลังใจผู้สูบบุหรี่ D = Do ขั้นตอนที่ 3 : ตรวจสมรรถภาพปอดคัดกรองผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ขั้นตอนที่ 4 : พยาบาลให้คำปรึกษาเลิกสูบบุหรี่ โดยวิเคราะห์ข้อมูล/อาการ จากแบบประเมินร่วมกับผลตรวจสมรรถภาพปอด ผลกระทบบุหรี่ต่อสุขภาพ ประโยชน์ที่ได้รับจากการเลิกสูบบุหรี่ ยกตัวอย่างผลตรวจสมรรถภาพปอดผู้สูบบุหรี่/เลิกบุหรี่สำเร็จ และวิธีการเลิกสูบบุหรี่ C = Check ขั้นตอนที่ 5 : โทรศัพท์ประเมินผลการเลิกสูบบุหรี่การให้คำปรึกษาเลิกบุหรี่ ผมเลิกบุหรี่แล้วครับ ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ผู้สูบบุหรี่ 240 ราย ผลการติดตามผู้สูบบุหรี่ (n = 240) ระดับความรุนแรงของโรค จำนวน (n = 240) ร้อยละ ติดตามได้ 162 67.51 ติดตามไม่ได้ 73 32.49 ผลการเลิกสูบบุหรี่ กลุ่มติดตามได้ (n = 162) เลิกบุหรี่ได้สำเร็จ 41 25.31 ยังไม่เลิกสูบบุหรี่ จำแนกเป็น ลดจำนวนบุหรี่ลง -สูบบุหรี่จำนวนเท่าเดิม 121 43 78 74.69 26.57 48.15 ผลการดำเนินงาน 23.51 12 มาตรวจตามนัด - มากที่สุด นัดรักษาต่อเนื่องทีคลินิก โรคหืดและโรคถุงลมโป่งพอง (n = 51) 76.49 39 ไม่มาตรวจ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ( n = 51) 49.02 25 น้อย 47.06 24 ปานกลาง 3.92 2 มาก ร้อยละ จำนวน ระดับความรุนแรง ของโรค คัดกรองเป่าปอด 5,632 ราย ตรวจสุภาพประจำปี 167 ราย (69.56 % ผู้ป่วยนอก &ใน 73 ราย (30.42%) สูบบุหรี่ 240 ราย (4.26 %) เหตุผลที่ เลิกสูบ อยากเลิก ตั้งใจมุ่งมั่น เลิกเพื่อครอบครัว เพื่อสุขภาพ ของตนเอง สูบแล้วไม่เกิดประโยชน์ สังคมรังเกียจ การเรียนรู้/การนำไปใช้ประโยชน์ การคัดกรองผู้ป่วยทุกรายด้วยการสอบถามสถานะของการสูบบุหรี่ ให้คำปรึกษาเลิกบุหรี่ ทุกหน่วยงานควรได้ตระหนัก ให้ความสำคัญเพื่อป้องกันโรคกลุ่มเสี่ยงจากการสูบบุหรี่ ซึงโอกาสพัฒนาในคลินิกโรคหืดและโรคถุงลมโป่งพอง ควรมีการติดตามผู้สูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องเป็นระบบ เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจ กระตุ้นให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ได้ทั้งหมด และการพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพในการให้คำปรึกษาเลิกสูบบุหรี่ รวมถึงกระจายการเข้าถึงบริการคลินิกเลิกบุหรี่