พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สมดุลเคมี.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
ผลของหมู่แทนที่หมู่แรกต่อปฏิกิริยาแทนที่ของเบนซีน
การศึกษาโครงสร้างในแบบ 3 มิติ ว่า อะตอมต่างๆมีการจัดเรียงตัวในที่ว่าง
แผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลง สภาวะพลังงานเมื่อโมเลกุล
Ground State & Excited State
Morse Curve.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Electrophilic Substitution of Benzene
Heat Capacity นิยาม ความจุความร้อนโมลาร์ (C ): ความร้อนที่ให้สาร 1 โมล
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. ในแต่คู่ต่อไปนี้ ไออนใดมีขนาดใหญ่กว่าและทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ก. N3- and F- ข. Mg2+ and Ca2+ ค. Fe2+ and Fe3+ ง. K+ and Li+
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
ทฤษฎีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล, MOT
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
เคมีอินทรีย์ แอลคีน ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
เคมีอินทรีย์ กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
Intermolecular Forces
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
พันธะเคมี Chemical bonding.
ปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน (esterification)
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เคมีอินทรีย์ สารประกอบอะโรมาติก aromatic compounds
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
แบบฝึกหัด.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
แนวโน้มของตารางธาตุ.
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
บทที่ 1 Introduction.
(Internal energy of system)
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
การแยกตัวประกอบพหุนาม
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
สารประกอบ.
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
เคมี ม.6 ว30225 เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry)
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
ไอโซเมอริซึม (Isomerism)
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
หมู่ฟังก์ชัน (Functional Group)
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
พันธะเคมี.
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
โครงสร้างของภาษา HTML
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ

พันธะเดี่ยว > พันธะคู่ > พันธะสาม ความยาวพันธะ หมายถึง ระยะทางระหว่างนิวเคลียสของอะตอมสองอะตอมที่สร้างพันธะกันในโมเลกุล อะตอมแต่ละชนิดอาจเกิดพันธะมากกว่า 1 ชนิด เช่น C กับ C , N กับ N และพันธะแต่ละชนิดจะมีพลังงานพันธะและความยาวพันธะแตกต่างกัน พันธะเดี่ยว > พันธะคู่ > พันธะสาม

พลังงานพันธะ พันธะสาม > พันธะคู่ > พันธะเดี่ยว หมายถึง พลังงานที่ใช้ไปเพื่อสลายพันธะระหว่างอะตอมภายในโมเลกุลซึ่งอยู่ในสถานะแก๊สให้แยกออกเป็นอะตอมในสถานะแก๊ส พลังงานพันธะใช้บอกความแข็งแรงของพันธะ พันธะสาม > พันธะคู่ > พันธะเดี่ยว

การคำนวณ ตัวอย่างที่ 1 กำหนดพลังงานให้ดังนี้ H – H = 436 kJ/mol N N = 945 kJ/mol และ N – H = 391 kJ/mol ปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้ดูดหรือคายพลังงานเท่าใด 2NH3 (g) N2 (g) + 3H2 (g)

ปฏิกิริยาดูดพลังงาน = 2346 – 2253 = 93 kJ 2NH3 (g) N2 (g) + 3H2 (g) 2H – N – H N N + 3(H – H) 6(N – H) N N + 3(H – H) 6 x 391 945 + 3 x 436 2346 kJ 2253 kJ H ปฏิกิริยาดูดพลังงาน = 2346 – 2253 = 93 kJ

การคำนวณ ตัวอย่างที่ 2 กำหนดพลังงานให้ดังนี้ C C = 945 kJ/mol และ C – H = 431 kJ/mol C – C = 436 kJ/mol 1.ถ้าเผาไหม้ โมเลกุล C2H2 มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานเท่าใด 2.ถ้าเผาไหม้ โมเลกุล C2H4 มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานเท่าใด

เรโซแนนซ์ (Resonance) หมายถึง ปรากฏการณ์ที่ไม่สามารถเขียนสูตรโครงสร้างเพียงหนึ่งสูตรเพื่อแทนสมบัติของสารบางชนิดได้อย่างถูกต้อง ต้องเขียนโครงสร้างมากกว่า 1 สูตร จึงแทนสมบัติที่แท้จริงของสารนั้นได้

ตัวอย่าง ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) S S O O O O