เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
แบบรูปและความสัมพันธ์
บทที่ 7 แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ

เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ความน่าจะเป็น Probability.
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
นวัตกรรมน่ารู้ นางสาวสินีนาฎ อุ่นใจเพื่อน
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ (o – net) ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต.
ผู้จัดทำ 1.นายกิตติพงศ์ ทีภูเวียง เลขที่ 1
เอกสารประกอบคำสอนอาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
เอกสารประกอบการสอน อาจารย์ดร.ศุกรี อยู่สุข
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
ADG SOV df SS MS F Trt ** Error Total Duncan’s Number of Means (p) LSR
Introduction to Digital System
แบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
นางสาวสุธาสินี ภัยชนะ
การทดสอบสมมติฐาน
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
การพิจารณาจำนวนเฉพาะ
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Arrow.
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
การแจกแจงปกติ.
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
Basic Experimental Design
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
หลักการแปลผล สรุปผล II
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
Expected Means Square and random effect By Mr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science, Faculty of Agriculture, KKU.
Chi-square Test for Mendelian Ratio
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
1 คำสั่งในการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 1.การวิเคราะห์เชิงพรรณนาในภาพรวม
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การตรวจสอบข้อกำหนดของการวิเคราะห์ความแปรปรวน
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
1. บทคัดย่อ 2. คำนำ 3. วิธีดำเนินการ 3.1 การเลือกพื้นที่ เป้าหมายและพื้นที่ ทดสอบ 3.2 การวิเคราะห์พื้นที่ ( วินิจฉัยปัญหา ) 3.3 การวางแผนการทดลอง.
QUIZ ก่อนเรียน เขียน ชื่อ-นามสกุล, รหัสนักศึกษา และ section
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ แผนการทดลองแบบพื้นฐาน แผนการทดลองแบบลาตินสแควร์ (Latin Square design ,LSD) 1. ลักษณะของแผนการทดลอง เนื่องจากหน่วยทดลองที่ใช้มีความแปรปรวนสองสาเหตุ จึงจัดกลุ่มในสองทิศทาง เรียกว่าความผันแปรในแนวนอนและแนวตั้ง โดย จำนวนแถวนอน = จำนวนแถวตั้ง = จำนวนทรีทเมนต์ Latin Square design

เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข Latin Square design

เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข แถวตั้ง : ตามรูปร่าง จัดเป็นพวก แถวนอน : ตามลักษณะ (สี) Latin Square design

เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 1.2 จำนวนลาตินสแควร์ในแต่ละขนาด มีดังนี้ 1) 2 x 2 : มี 2 ชนิด 2) 3 x 3 : มี 12 ชนิด 3) 4 x 4 : มี 576 ชนิด 4) 5 x 5 : มี 161,280 ชนิด Latin Square design

เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 2. วิธีการสุ่ม 2.1 สุ่มจากผังตารางลาตินสแควร์ทั้งหมดที่เป็นไปได้ 2.2 สุ่มที่ละแถวตั้งและแถวนอน โดยมีข้อกำหนด ตั้งนี้ 1 ในแต่แถวตั้งและแถวนอนต้องมีครบทุกทรีทเมนต์ 2. แต่ละทรีทเมนต์จะต้องปรากฏเพียงครั้งเดียวในแถวตั้งและแถวนอน Latin Square design

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ผังการทดลอง ตัวอย่างผังการทดลอง 4 x 4 มีหน่วยทดลอง 16 หน่วย (โดยให้ A B C และ D เป็นทรีทเมนต์) B C D A

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 4. แบบหุ่นทางคณิตศาสตร์ Yijk = ค่าสังเกตที่ได้จากหน่วยทดลอง = ค่าเฉลี่ยรวม Ci = อิทธิพลของcolumn ที่ i Rj = อิทธิพลของ row ที่ j k = อิทธิพลของ trt ที่ k ijk = ความคลาดเคลื่อนของการทดลอง

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 5. วิธีวิเคราะห์ ค่า Correction term, CT = (Y…ij)2 /r2 (1) Total SS = (2) Column = (3) Row SS = (4) Treatment SS = (5) Error SS = (1) - (2) – (3) – (4)

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 5. วิธีวิเคราะห์ จะได้ตารางวิเคราะห์ ดังนี้ Source df SS MS F Columns (r-1) (2) (2)/(r-1) MSC/MSE Rows (3) (3)/(r-1) MSR/MSE Treatment (4) (4)/(r-1) MSTr/MSE Error (r-1) (r-2) (5) (5)/(r-1)(r-2) Total (r2-1) (1) ค่าทดสอบ F ซึ่งมี df = r-1, (r-1)(r-2)

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 6. วิธีทดสอบสมมุติฐาน รูปแบบที่ 1 เมื่อ ทรีทเมนต์เป็นอิทธิพลกำหนด Ho : 1 = 2 = …= r = 0 HA : มี r อย่างน้อย 1 ค่าที่  0 รูปแบบที่ 2 เมื่อ ทรีทเมนต์เป็นอิทธิพลสุ่ม Ho : 2i = 0 HA: 2 i  0

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 6. วิธีทดสอบสมมุติฐาน นำค่า F ที่คำนวณได้ เปรียบเทียบกับค่า F ในตาราง ที่ df = r-1,(r-1)(r-2) หาก F ที่คำนวณได้ < ค่า F ในตาราง = ยอมรับ Ho หาก F ที่คำนวณได้ > ค่า F ในตาราง = ยอมรับ HA

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 7. ตัวอย่างการวิเคราะห์ การศึกษาเปรียบเทียบระดับพลังงานในอาหาร 4 ระดับต่อจำนวนลูกต่อครอก สำหรับแม่สุกร 4 พันธุ์ ซึ่งมีอายุต่างกัน ดังนี้ อายุแม่สุกร (ปี) พันธุ์แม่สุกร รวม NT LW LR DR 2 T1 (6) T3 (12) T4 (11) T2 (10) 39 3 T2 (8) T1 (8) T3 (11) T4 (10) 37 4 T4 (9) T2 (9) T1 (7) 36 5 T3 (9) T2 (11) 32 40 148

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 7.1 ผังการทดลอง T3 T4 T2 T1

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 7.1 ตารางผลรวมของทรีทเมนต์ ระดับพลังงานในอาหาร T1 T2 T3 T4 1 6 10 12 11 2 8 3 7 9 4 รวม 27 38 43 40 เฉลี่ย 6.75 9.5 10.75

เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข 7.2 วิธีวิเคราะห์ จะได้ตารางวิเคราะห์ ดังนี้ Source df SS MS F Columns (r-1) (2) (2)/(r-1) MSC/MSE Rows (3) (3)/(r-1) MSR/MSE Treatment (4) (4)/(r-1) MSTr/MSE Error (r-1) (r-2) (5) (5)/(r-1)(r-2) Total (r2-1) (1) ค่าทดสอบ F ซึ่งมี df = r-1,(r-1)(r-2) Latin Square design

เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 7.3 วิเคราะห์ จะได้ดังนี้ C.T. = Total SS = 62+82+…+62 – C.T. = 1420 -1369 = 51.0 Column SS = Row SS = Treatment SS = Error SS = 51.0 – 9.5 – 1.5 – 36.5 = 3.5 Latin Square design

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 7.4 วิธีวิเคราะห์ จะได้ตารางวิเคราะห์ ดังนี้ Source df SS MS F Columns 3 9.5 3.167 5.432* Rows 1.5 0.5 0.858ns Treatment 36.5 12.167 20.87** Error 6 3.5 0.583 Total 15 51.0 ค่าทดสอบ F0.05 (3,6) จากตาราง = 4.67, F0.01 (3,6) = 9.78

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ขั้นตอนการวิเคราะห์ จัดเรียงค่าเฉลี่ยจากค่าน้อยไปหามาก หรือ มากไปหาน้อย T1 T2 T4 T3 6.75 9.5 10.0 10.75 2. คำนวณหาจำนวนคู่ที่สามารถเปรียบเทียบได้ = =

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ขั้นตอนการวิเคราะห์ โดยวิธี lsd 3. คำนวณหาค่า lsd โดย เป็นค่า t จากตาราง t ที่ df เท่ากับ df (error) หรือ (r-1)(r-2)

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 4. คำนวณผลต่างของค่าเฉลี่ยของทรีทเมนต์ทุกคู่ คู่ที่ 1 T3 –T1 = 10.75- 6.75 = 4.00** > 2.002 คู่ที่ 2 T3 – T2 = 10.75 – 9.5 = 1.25ns < 2.002 คู่ที่ 3 T3 – T4 = 10.75 – 10.0 = 0.75ns < 2.002 คู่ที่ 4 T4 – T1 = 10.0 – 6.75 = 3.25** > 2.002 คู่ที่ 5 T4 – T2 = 10.0 – 9.5 = 0.5ns < 2.002 คู่ที่ 6 T2 – T1 = 9.5 – 6.75 = 2.75** > 2.002

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 5. สรุปผล T1 T2 T4 T3 6.75ข 9.5ก 10.0ก 10.75ก

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ขั้นตอนการวิเคราะห์ โดยวิธี DMRT 3. คำนวณค่า (1) SY (2) SSR และ (3) LSR 3.2 หาค่า SSR จากการเปิดตาราง Significant Studentized Range (SSR) 3.3 คำนวณค่า LSR จากสูตร LSR = SSR x SY

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ วิธีวิเคราะห์ 1.3 คำนวณค่า LSR ค่า p 2 3 4 SSR0.01 5.24 5.51 5.65 LRS0.01= 2.002 2.105 2.158

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 4. คำนวณผลต่างของค่าเฉลี่ยของทรีทเมนต์ทุกคู่ คู่ที่ 1 T3 –T1 = 10.75- 6.75 = 4.00** > 2.158 คู่ที่ 2 T3 – T2 = 10.75 – 9.5 = 1.25ns < 2.105 คู่ที่ 3 T3 – T4 = 10.75 – 10.0 = 0.75ns < 2.002 คู่ที่ 4 T4 – T1 = 10.0 – 6.75 = 3.25** > 2.105 คู่ที่ 5 T4 – T2 = 10.0 – 9.5 = 0.5ns < 2.002 คู่ที่ 6 T2 – T1 = 9.5 – 6.75 = 2.75** > 2.002

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 5. สรุปผล T1 T2 T4 T3 6.75ข 9.5ก 10.0ก 10.75ก

เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การประมาณประสิทธิภาพของแผนการทดลอง เปรียบเทียบระหว่างการใช้แผนการทดลอง Latin กับ RCBD โดยการคำนวณหาประสิทธิภาพสัมพัทธ์ (Relative Efficiency) Relative Efficiency จะบอกให้ทราบว่าการทดลองแบบ Latin จะใช้จำนวนซ้ำต่างกัน RCBD กี่เท่า ซึ่งคำนวณจากสูตร Latin Square design

เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การเปรียบเทียบมี 2 กรณี 1) การแถวนอนเป็นบล๊อก 2) การแถวตั้งเป็นบล๊อก โดย Ec =MSC , Er =MSR , Ee(LSD) = MSE ของ LSD Latin Square design

เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หากค่าประมาณได้มากกว่า 1 แสดงว่าการใช้แผน Latin Square ดีกว่า ในกรณีที่ df error ของ LSD น้อยกว่า 20 ต้องปรับค่า R.E. โดยการคูณด้วยค่า precision ตามสูตร โดย n1 = df error ของ แผน LSD n2 = df error ของ แผน RCBD Latin Square design

เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข ตัวอย่าง จงประมาณของประสิทธิภาพสัมพัทธ์เปรียบเทียบ 1) ใช้แถวนอนเป็นบล๊อก จากสูตร แทนค่า Latin Square design

เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข ตัวอย่าง จงประมาณของประสิทธิภาพสัมพัทธ์เปรียบเทียบ 1) ใช้แถวนอนเป็นบล๊อก จากสูตร หมายความว่า หากต้องการให้มีความแม่นยำเท่ากันแล้ว แผน LSD จะใช้จำนวนซ้ำ 100 ซ้ำ ในขณะที่แผน RCBD จะต้องใช้จำนวนซ้ำถึง 197 ซ้ำ Latin Square design

เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข ตัวอย่าง จงประมาณของประสิทธิภาพสัมพัทธ์เปรียบเทียบ 2) ใช้แถวตั้งเป็นบล๊อก จากสูตร แทนค่า Latin Square design

เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข ตัวอย่าง จงประมาณของประสิทธิภาพสัมพัทธ์เปรียบเทียบ 2) ใช้แถวตั้งเป็นบล๊อก จากสูตร หมายความว่า หากต้องการให้มีความแม่นยำเท่ากันแล้ว แผน LSd จะใช้จำนวนซ้ำ 100 ซ้ำ แต่แผน RCBD จะใช้ซ้ำ 90 ซ้ำ Latin Square design