ข้อแตกต่างการสร้างภูมิคุ้มกัน ระหว่างไก่ไข่และไก่เนื้อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

FOOD PYRAMID.
วิชาสัมมนา ( ) เรื่อง ผลของพ่อพันธุ์ดูร็อคและพ่อพันธุ์เพียเทรนต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต ลักษณะซากและคุณภาพเนื้อของสุกรขุน Effect of Duroc and Pietrain-sired.
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
Amino Acids and Proteins
Protein.
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
เรื่อง โครงงานสุขภาพ กลุ่ม C.A.L.I.N สมาชิก:
ผลการจำกัดอาหารในลูกสุกรหย่านมก่อนกำหนด
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
โรคเอสแอลอี.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
Comparison of efficacies of different probiotics for broiler chickens
Protein and Amino Acid Metabolism
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
การคำนวณพลังงาน.
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
การศึกษาหญ้าแฝกเพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
การทำธุรกิจแบบยั่งยืน การตลาดแบบแม่ไก่อารมณ์ดี
โรคสำคัญที่พบในการเลี้ยงไก่ฟ้า รศ. น. สพ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
Immunity against viral infection ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว.
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
วิกฤตคุณภาพอุดมศึกษาไทย
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
บทคัดย่อ ปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่องสุขภาพของประชาชนจากแพร่กระจายของเชื้อโรคในน้ำ และมีลักษณะของคลอรีนตกค้างมากเกินไปในเส้นท่อจ่ายน้ำประปา ผู้วิจัยจึงต้องการให้น้ำมีคุณภาพที่ดีขึ้นและเพื่อรักษาแหล่งน้ำไว้
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
โรคเบาหวาน ภ.
กินตามกรุ๊ปเลือด.
การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและแนวโน้มทางพันธุกรรมของสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ) วุฒิไกร บุญคุ้ม, มนต์ชัย ดวงจินดา,
การเจริญเติบโตของพืช
SELENIUM ซีลีเนียม.
5 Nov 2014 Metabolism of Amino Acids II
คำขอขึ้นทะเบียนใหม่ ชื่อบริษัท : ชื่อในทางการค้า : (ไทย) (อังกฤษ)
คำขอแก้ไขรายการขึ้นทะเบียน
คำขอแก้ไขรายการขึ้นทะเบียน
คำขอแก้ไขรายการขึ้นทะเบียน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อแตกต่างการสร้างภูมิคุ้มกัน ระหว่างไก่ไข่และไก่เนื้อ โดย นางสาว ชนิดา แป้นจันทร์ สาขาสัตวศาสตร์ รหัส 45103411 อาจารย์ที่ปรึกษา น.สพ.ดร. บัญชา พงศ์พิศาลธรรม

บทนำ - มีการคัดเลือกพันธุ์ไก่เพื่อให้ได้การเจริญเติบโตผลผลิตตามที่ต้องการ - ลักษณะที่แสดงออกและการสร้างภูมิคุ้มกัน มีความสัมพันธ์ ทางลบ - ไก่ที่ถูกคัดเลือกจะมีปฏิกิริยาต่อSRBC ที่ต่ำ แต่จะมีน้ำหนักตัวที่สูง แต่ในไก่ที่ไม่ถูกคัดเลือก จะมีปฏิกิริยาต่อSRBC ที่สูง แต่จะมีน้ำหนักตัวที่น้อย SRBC : Sheep red blood cell

ปัจจัยขัดขวางการสร้างภูมิคุ้มกัน 1. ความแตกต่างในเรื่องพันธุกรรม 2. การมียาฆ่าแมลงปนมาในอาหาร 3. สารAflatoxins จากเชื้อราที่ผสมอยู่ในอาหาร 4. โรคกัมโบโร 5. ภาวะที่เครียดที่เกิดจากโรค เช่น โรคบิด 6. โภชนะอาหาร เช่น การขาดกรดอะมิโน

ค่าความเข้มข้นของ IgM และ IgG ในไก่ไข่หลังการสร้างภูมิคุ้มกัน ผ่านทางวิธีการที่ต่างกัน การสร้างภูมิคุ้มกันทาง 7วันหลังสร้างภูมิคุ้มกัน 1st 10วันหลังสร้างภูมิคุ้มกัน 1st 7วันหลังสร้างภูมิคุ้มกัน 2nd 10วันหลังสร้างภูมิคุ้มกัน 2nd IgM เส้นเลือดดำ 289 a 146 b 15040 a 5706 a กล้ามเนื้อ 161 b 165 b 377 b 1619 b ใต้ผิวหนัง 285 319 a 566 b 519 b ใต้ตา 343 a 254 a 205 b 178 b IgG 119 a 11 a 3716 a 30901 a 45 b 5 b 180 b 1556 b 60 b 7 a 125 b 37 c 234 c 28 d Antigen : TNP-KLH (trinitrophenyl-conjugated keyhole limit hemocyanin)

ความเข้มข้นของIgM และ IgG ของไก่ไข่หลังการสร้างภูมิคุ้มกันต่อTNP-KLH หลังสร้าง IgM IgG ควบคุม ให้สาร สร้างครั้งแรก 0 วัน 18 30 3 4 5 วัน 44 2114 1 372 7 วัน 65 1492 6 425 10 วัน 41 295 7 397 สร้างครั้งที่2 53 12388 9 6639 45 5407 10 4697 42 882 1652 38 446 29 1205

ความเข้มข้นของ IgM และ IgG ที่จำเพาะ ของไก่ไข่และไก่เนื้อ หลังการสร้างภูมิคุ้มกันครั้งแรก ในปริมาณสารที่แตกต่างกัน (a) IgM ของไก่ไข่ (b) IgM ของไก่เนื้อ (c) IgG ของไก่ไข่ (d) IgG ของไก่เนื้อ

ปัจจัยขัดขวางการสร้างภูมิคุ้มกัน โภชนะอาหาร การขาดกรดอะมิโน

แสดงการให้อาหารตามต้องการโดยการขาดกรดอะมิโนที่แตกต่างกัน หรือ อาหารควบคุมภายใต้การจำกัดการให้อาหาร

แสดงน้ำหนักและอาหารที่มีกรดอะมิโนที่ระดับแตกต่างกัน จากอายุ10-24วัน - S-containing amino acids (SAA; methionine + cysteine) - Aromaticamino acids (AAA; phenylalanine + tyrosine) - Branched-chain amino acids (BCAA; isoleucine + leucine + valine) - Arginine plus lysine (Arg + Lys) - Other essential amino acids (OEAA; glycine + serine + histidine + threonine + tryptophan)

แสดงความสัมพันธ์ น้ำหนัก ต่อมไทมัส ม้าม และต่อมเบอร์ซ่าที่ก้น

แสดงการตอบสนองของ splenocyte

กรดอะมิโน เช่น methionine valine lysine phenylalanine isoleucine leucine arginine การสร้างภูมิคุ้มกัน + การเจริญเติบโต NRC(1994) : National Research Council

ผลของ Aginine ต่อการเจริญเติบโต Arginine และ lysine ไม่เกิด antagonism จึงไม่ส่งผลต่อการเจริญเติบโต Antagonism : การต่อต้านกันระหว่างกรดอะมิโนที่มีโครงสร้างคล้ายกัน ส่งผลให้ลดการเจริญเติบโต

ผล Aginine ต่อการสร้างภูมิคุ้มกัน : การสเปรย์วัคซีน NDแบบหยาบๆที่โรงฟัก เพิ่มความเข้มข้นของ antibody เมื่อไหร่ที่ Arg ไม่มีผลต่อ NDและ IB ในไก่

ระดับ Arginine มีผลต่อการเพิ่มของ plasma amino acid

สรุป - การเสริมภูมิคุ้มกันให้ดีโดยการให้วัคซีนทางเส้นเลือดดำให้ผลดีที่สุด - ไก่ไข่สร้าง IgG ดีกว่าไก่เนื้อ , ส่วนไก่เนื้อสร้าง IgM ดีกว่าไก่ไข่ - ไก่เนื้อในเรื่องปัจจัยต่อการสร้างภูมิคุ้มกัน คือ โภชนาการในที่นี้กล่าวถึงกรดอะมิโนที่จำเป็น มีผลต่อการสร้างภูมิคุ้มกันและสัมพันธ์กับการเจริญเติบโตของอวัยวะน้ำเหลือง - Arginine(+lysine) ในปริมาณที่ใกล้เคียงกับ NRC(1994) ไม่มีผลต่อการสร้างภูมิคุ้มกัน แต่มีผลต่อโครงสร้างระบบภูมิคุ้มกัน(celluar and humoral) ที่มีส่วนช่วยรักษาสุขภาพของสัตว์

ขอขอบพระคุณผู้เข้าฟังสัมมนาทุกท่าน....