ข้อแตกต่างการสร้างภูมิคุ้มกัน ระหว่างไก่ไข่และไก่เนื้อ โดย นางสาว ชนิดา แป้นจันทร์ สาขาสัตวศาสตร์ รหัส 45103411 อาจารย์ที่ปรึกษา น.สพ.ดร. บัญชา พงศ์พิศาลธรรม
บทนำ - มีการคัดเลือกพันธุ์ไก่เพื่อให้ได้การเจริญเติบโตผลผลิตตามที่ต้องการ - ลักษณะที่แสดงออกและการสร้างภูมิคุ้มกัน มีความสัมพันธ์ ทางลบ - ไก่ที่ถูกคัดเลือกจะมีปฏิกิริยาต่อSRBC ที่ต่ำ แต่จะมีน้ำหนักตัวที่สูง แต่ในไก่ที่ไม่ถูกคัดเลือก จะมีปฏิกิริยาต่อSRBC ที่สูง แต่จะมีน้ำหนักตัวที่น้อย SRBC : Sheep red blood cell
ปัจจัยขัดขวางการสร้างภูมิคุ้มกัน 1. ความแตกต่างในเรื่องพันธุกรรม 2. การมียาฆ่าแมลงปนมาในอาหาร 3. สารAflatoxins จากเชื้อราที่ผสมอยู่ในอาหาร 4. โรคกัมโบโร 5. ภาวะที่เครียดที่เกิดจากโรค เช่น โรคบิด 6. โภชนะอาหาร เช่น การขาดกรดอะมิโน
ค่าความเข้มข้นของ IgM และ IgG ในไก่ไข่หลังการสร้างภูมิคุ้มกัน ผ่านทางวิธีการที่ต่างกัน การสร้างภูมิคุ้มกันทาง 7วันหลังสร้างภูมิคุ้มกัน 1st 10วันหลังสร้างภูมิคุ้มกัน 1st 7วันหลังสร้างภูมิคุ้มกัน 2nd 10วันหลังสร้างภูมิคุ้มกัน 2nd IgM เส้นเลือดดำ 289 a 146 b 15040 a 5706 a กล้ามเนื้อ 161 b 165 b 377 b 1619 b ใต้ผิวหนัง 285 319 a 566 b 519 b ใต้ตา 343 a 254 a 205 b 178 b IgG 119 a 11 a 3716 a 30901 a 45 b 5 b 180 b 1556 b 60 b 7 a 125 b 37 c 234 c 28 d Antigen : TNP-KLH (trinitrophenyl-conjugated keyhole limit hemocyanin)
ความเข้มข้นของIgM และ IgG ของไก่ไข่หลังการสร้างภูมิคุ้มกันต่อTNP-KLH หลังสร้าง IgM IgG ควบคุม ให้สาร สร้างครั้งแรก 0 วัน 18 30 3 4 5 วัน 44 2114 1 372 7 วัน 65 1492 6 425 10 วัน 41 295 7 397 สร้างครั้งที่2 53 12388 9 6639 45 5407 10 4697 42 882 1652 38 446 29 1205
ความเข้มข้นของ IgM และ IgG ที่จำเพาะ ของไก่ไข่และไก่เนื้อ หลังการสร้างภูมิคุ้มกันครั้งแรก ในปริมาณสารที่แตกต่างกัน (a) IgM ของไก่ไข่ (b) IgM ของไก่เนื้อ (c) IgG ของไก่ไข่ (d) IgG ของไก่เนื้อ
ปัจจัยขัดขวางการสร้างภูมิคุ้มกัน โภชนะอาหาร การขาดกรดอะมิโน
แสดงการให้อาหารตามต้องการโดยการขาดกรดอะมิโนที่แตกต่างกัน หรือ อาหารควบคุมภายใต้การจำกัดการให้อาหาร
แสดงน้ำหนักและอาหารที่มีกรดอะมิโนที่ระดับแตกต่างกัน จากอายุ10-24วัน - S-containing amino acids (SAA; methionine + cysteine) - Aromaticamino acids (AAA; phenylalanine + tyrosine) - Branched-chain amino acids (BCAA; isoleucine + leucine + valine) - Arginine plus lysine (Arg + Lys) - Other essential amino acids (OEAA; glycine + serine + histidine + threonine + tryptophan)
แสดงความสัมพันธ์ น้ำหนัก ต่อมไทมัส ม้าม และต่อมเบอร์ซ่าที่ก้น
แสดงการตอบสนองของ splenocyte
กรดอะมิโน เช่น methionine valine lysine phenylalanine isoleucine leucine arginine การสร้างภูมิคุ้มกัน + การเจริญเติบโต NRC(1994) : National Research Council
ผลของ Aginine ต่อการเจริญเติบโต Arginine และ lysine ไม่เกิด antagonism จึงไม่ส่งผลต่อการเจริญเติบโต Antagonism : การต่อต้านกันระหว่างกรดอะมิโนที่มีโครงสร้างคล้ายกัน ส่งผลให้ลดการเจริญเติบโต
ผล Aginine ต่อการสร้างภูมิคุ้มกัน : การสเปรย์วัคซีน NDแบบหยาบๆที่โรงฟัก เพิ่มความเข้มข้นของ antibody เมื่อไหร่ที่ Arg ไม่มีผลต่อ NDและ IB ในไก่
ระดับ Arginine มีผลต่อการเพิ่มของ plasma amino acid
สรุป - การเสริมภูมิคุ้มกันให้ดีโดยการให้วัคซีนทางเส้นเลือดดำให้ผลดีที่สุด - ไก่ไข่สร้าง IgG ดีกว่าไก่เนื้อ , ส่วนไก่เนื้อสร้าง IgM ดีกว่าไก่ไข่ - ไก่เนื้อในเรื่องปัจจัยต่อการสร้างภูมิคุ้มกัน คือ โภชนาการในที่นี้กล่าวถึงกรดอะมิโนที่จำเป็น มีผลต่อการสร้างภูมิคุ้มกันและสัมพันธ์กับการเจริญเติบโตของอวัยวะน้ำเหลือง - Arginine(+lysine) ในปริมาณที่ใกล้เคียงกับ NRC(1994) ไม่มีผลต่อการสร้างภูมิคุ้มกัน แต่มีผลต่อโครงสร้างระบบภูมิคุ้มกัน(celluar and humoral) ที่มีส่วนช่วยรักษาสุขภาพของสัตว์
ขอขอบพระคุณผู้เข้าฟังสัมมนาทุกท่าน....