รหัสวิชา SOHU 0022 Using Information Systems ครั้งที่ 6 หนังสือ วารสาร และสื่อการเรียนรู้ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. รู้ เข้าใจความหมายของทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด 2. รู้ เข้าใจวิธีจัดเก็บ และวิธีสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ
สิ่งตีพิมพ์ หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง จุลสาร หนังสือ จดหมายข่าว หนังสือชี้ชวน สิ่งพิมพ์รัฐบาล กฤตภาค คู่มือนักศึกษา
วิชาการ ไม่วิชาการ หนังสือ หนังสืออ้างอิง Reference books สารคดี nonfiction นวนิยาย fiction เรื่องสั้น Short story วิชาการ ไม่วิชาการ หนังสือ ตำราอ่าน ประกอบ monographs ตำราเรียน Texts หนังสือเด็ก/เยาวชน
ตำราเรียน Texts / Textbooks - ตำราหลัก มีเนื้อหาครบถ้วนตามหลักสูตรของ แต่ละวิชา นักศึกษาต้องติดตามอ่าน และ ทำแบบฝึกหัดท้ายบท
สรุปส่วนประกอบของหนังสือ 1. ส่วนต้น - หน้าปกนอก หน้าปกใน คำนำ สารบัญ 2. ส่วนเนื้อหา - บทที่ 1 … 3. ส่วนท้าย - บรรณานุกรม ดรรชนี glossary
วิธีจัดระบบหนังสือเพื่อให้ค้นคืนง่าย 1. กรอกข้อมูลเกี่ยวกับหนังสือ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง สำนักพิมพ์ เมืองที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ ลงใน worksheet เรียกว่า กรอกข้อมูล รายละเอียดทางบรรณานุกรม
2. วิเคราะห์เนื้อหา แล้วกำหนดหัวเรื่อง 2. วิเคราะห์เนื้อหา แล้วกำหนดหัวเรื่อง โดยหาคำ วลี ที่ปรากฏอยู่ในหนังสือหัวเรื่อง เพื่อความเป็นมาตรฐานเดียวกันในทุกห้องสมุด
แล้วกำหนดเลขประจำหนังสือ รวมเรียกว่า เลขเรียกหนังสือ 3. กำหนดเลขหมู่หนังสือ เป็นไปตามหัวเรื่องที่ให้ไว้ แล้วกำหนดเลขประจำหนังสือ รวมเรียกว่า เลขเรียกหนังสือ
หรือ ระบบ LC. (ใช้ตัวอักษรโรมัน และเลขอารบิก) เลขหมู่หนังสือ คืออะไร คือ สัญลักษณ์ที่บ่งบอกว่าหนังสือเล่มหนึ่งๆ มี เนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใด ก็ให้เลขหมู่ตามหมวดหมู่นั้นๆ และเป็นไปตามระบบเลขหมู่ที่ห้องสมุดใช้ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร จัดหมวดหมู่หนังสือด้วยระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หรือ ระบบ LC. (ใช้ตัวอักษรโรมัน และเลขอารบิก)
เลขเรียกหนังสือ = Call no. ประกอบด้วย เลขหมู่หนังสือ ใช้สัญลักษณ์ตัวอักษรโรมัน A-Z (Classification no.) และใช้ตัวเลขอารบิก 0001 - 9999 เลขประจำหนังสือ ใช้ตัวอักษรตัวแรกของ ชื่อผู้แต่ง (กรณีคนไทย) (Cutter no.) ใช้ตัวอักษรตัวแรกของนามสกุลผู้แต่ง (กรณี ชาวต่างประเทศ)
เป็นหนังสือเกี่ยวกับ สถิติ เป็นหนังสือเกี่ยวกับ สถิติ เลขหมู่คือ HA29.5.T35 เลขประจำหนังสือ คือ พ42ห46
ต้องใช้เครื่องมือช่วยค้น คือ โปรแกรม IntraPAC หาเลขเรียกหนังสือ เมื่อจะค้นหาหนังสือ ต้องใช้เครื่องมือช่วยค้น คือ โปรแกรม IntraPAC หาเลขเรียกหนังสือ
หลักการเรียงหนังสือบนชั้น - เรียงจากเลขเรียกหนังสือที่มีค่าน้อย ไปหาเลขเรียกฯ ที่มีค่ามาก - เรียงจากซ้ายไปขวา บนลงล่าง
ฐานข้อมูลค้นหาหนังสือ IntraPAC - ใช้ค้นหาหนังสือในสำนักหอสมุด มทม. - ใช้ค้นหาวารสารเล่มเย็บในสำนักหอสมุด มทม.
ถ้าเลือก Title Exact แล้วพิมพ์คำว่า Computers