Chapter 14 Project Implementation, Closure, and Evaluation.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Knowledge Management (KM)
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
Chapter 11 : System Implementation
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
การบริหารความสัมพันธ์และการฟื้นฟูความพอใจ จากบริการที่ผิดพลาด
แนวทาง การทำงานในเชิงรุก
OpenProject รุ่นที่ มกราคม 2553 การเคหะแห่งชาติ อ
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
ปัญหาในการสั่งงาน 1. ตัวเราเอง/หัวหน้าไม่กล้า, เกรงใจ, กลัว ต้องเชื่อมั่นตนเอง 2. ไม่รู้ขั้นตอนสั่งงานที่ดี จับประเด็นไม่ได้
The Development of Document Management System with RDF
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Lesson 10 Controlling.
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
โดย ศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
Information System Project Management
The Implementation Plan and Project Closure
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
ผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Knowledge Management (KM)
การติดตาม และประเมินโครงการ.
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 14.
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรกฤษณ์ สำราญใจ
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การสื่อสารความเสี่ยง
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
3. การพัฒนาระบบสารสนเทศ
2 มิถุนายน อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
คณะทำงานจัดการองค์ความรู้
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ความต้องการเชิงคุณภาพ (Qualitative Requirements)
Chapter 6 Project Management
Participation : Road to Success
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
Chapter 9 การปรับแต่งระบบให้เหมาะสมกับ การใช้งาน.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
การเพิ่มผลผลิต Productivity
Customer Relationship Management: CRM
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
strategy Formulation Structure Architecture Strategy deployment
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
การบริหารโครงการ ยุทธนา พรหมณี.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
1 I K R S การประชุม เรื่อง “ การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ” วันพุธที่ 1 กันยายน 2547 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ.
WHAT IS THE PROJECT?.  งานต่างๆ ที่ออกแบบเพื่อทำให้ วัตถุประสงค์ที่เฉพาะเจาะจงสำเร็จ ลุล่วงภายในเวลาที่กำหนด คุณจะ พัฒนาผลการดำเนินงานได้ด้วย การคิดหางานที่จะช่วยให้บรรลุ
Assessment and Evaluation System
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
Service Profile บริการ/ทีม: ……………………………. โรงพยาบาลนครปฐม
Change Management.
สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
การบริหารธุรกิจ MICE Chapter 7 TD 451.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 14 Project Implementation, Closure, and Evaluation

Chapter 12 Objectives อธิบายถึงสามแนวทางในการ information implementation and installation: (1) direct cutover, (2) parallel, และ (3) phased รวมทั้งเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของแต่ละแนวทาง อธิบายถึงกระบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปิดโครงการเพื่อมั่นใจว่า โครงการถูกปิดตามขั้นตอนอย่างถูกต้อง บ่งชี้การทบทวนหรือการประเมินโครงการ 4 แนวทาง คือ: (1) individual performance review, (2) postmortem review, (3) project audit, and (4) evaluation of the project’s MOV.

Project Implementation เน้นที่การติดตั้ง หรือ การส่งมอบ project’s major deliverable ซึ่งก็คือระบบสารสนเทศที่ถุกสร้างขึ้น หรือ ถูกซื้อมา แผนการดำเนินการ 3 แบบ คือ: Direct cutover Parallel Phased

Direct Cutover

Direct Cutover ระบบเก่าถูกปิด (shut down) และ ระบบใหม่ถูกเปิดใช้งาน (turned on) อาจเหมาะสม เมื่อ: วิกฤติในเรื่องส่งมอบให้เร็ว (Quick delivery) ระบบเก่าแย่และต้องการเปลี่ยนให้เร็วที่สุด ระบบไม่วิกฤติต่อภาระกิจ ความเสี่ยงของการ direct cutover: ไม่ราบรื่นเสมอไป – เหมือนเดินแบบกายกรรมใต่เชือกที่ไม่มีตาข่ายรองรับ ผลอาจเกิด ความล่าช้า ผู้ใช้กระวนกระวาย สูญเสียรายได้ พลาด deadlines เกิดแรงกดดันและบีบคั้นกับ project team

Parallel

Parallel ระบบเก่าและระบบใหม่ทำงานขนานกัน (run concurrently) เหมาะสม ถ้าปัญหาหรือข้อบกพร่องของระบบส่งผลกระทบต่อองค์อย่างมาก ถือว่ามี safety net หรือ backup ในกรณีที่เกิดปัญหา สามารถก่อให้เกิดความเชื่อมั่นในระบบใหม่ ใช้เวลานานกว่าและทรัพยากรมากกว่าเมื่อเทียบกับแบบ direct cutover สร้างแรงกดดันให้กับผู้ใช้มากขึ้น

Phased

Phased ระบบถูกนำมาใช้เป็นโมดูลเป็นกลุ่ม หรือ ส่วน ๆ แล้วค่อย ๆ เพิ่มขึ้น ยอมให้ใช้แนวทางการกำหนดกลุ่มและการบริหารสำหรับการนำโมดูลของระบบมาใช้ในต่างแผนกกันหรือต่างสถานที่กัน ประสบการณ์ในอดีตสามารถใช้เป็นแนวทางและช่วยทำให้การนำมาใช้ราบรื่นมากขึ้น ใช้เวลานานและงบประมาณอาจบานปลายเมื่อเทียบกับแนวทางแบบ direct cutover ปัญหาที่เกิดขึ้นในเฟสก่อนหน้าจะส่งผลกระทบกับเฟสถัดมา และหมายกำหนดการโดยรวม

Administrative Closure ปกติ (Normal) – เป็นไปตามแผน ก่อนเวลา (Premature) – ปิดก่อน แม้ว่าจะไม่เสร็จสมบูรณ์ ไม่มีวันจบ (Perpetual) – ทำไปเรื่อย ๆ ไม่มีวันจบ ล้มเหลว (Failed) – ไม่สำเร็จ – cost of completion > MOV เปลี่ยนความสำคัญ (Changed Priority) – เนื่องจาก resource constraints, misjudged value, needs changes, “ถูกแขวน (starvation)”

Realities of Project Closure สมาชิกของทีมต้องไปเกี่ยวข้องกับ future jobs Bugs still exist ทรัพยากรหมด งานเอกสารจะเป็นเรื่องสำคัญ ถึงวันที่ต้องส่งมอบ แต่ทำไม่ได้ The players อาจหวงแหน(สิ่งของ)ด้วยความตกใจ

Project Sponsor Acceptance Shortsighted vs. Knowledgeable Sponsors โอกาสในการยอมรับโครงการจะเพิ่มขึ้น เมื่อ: Acceptance criteria ถูกกำหนดไว้ชัดเจนใน early stages of project Completion of all project deliverables and milestones ทั้งหมดถูกทำเป็นเอกสาร

Administrative Closure The Final Project Report includes Project Summary Comparison of Planned versus Actual Outstanding Issues Project Documentation List

Administrative Closure The Final Meeting and Presentation เพื่อเป็นการสื่อสารว่า project เสร็จสิ้นแล้ว ทำการส่งมอบระบบ (อย่างเป็นทางการ)จากทีมไปสู่องค์กร รับรู้ว่าจะต้องช่วยเรื่องอะไรบ้าง (เมื่อส่งมอบไปแล้ว) Formal signoff

Administrative Closure Closing the Project – requirements include: ทวนสอบ สิ่งที่ต้องส่งมอบทั้งหมด เรื่องที่คั่งค้าง เสร็จสิ้นแล้ว ทวนสอบการยอมรับอย่างเป็นทางการของโครงการ ของ project sponsor หรือ customer เสาะหาและรวบรวม project deliverable ทั้งหมดแล้วทำให้เป็นเอกสาร วางแผนส่งมอบ all project resources (เช่น project team members, technology, equipment, facilities, etc.). วางแผนประเมินและทบทวนสมาชิกของ project team และตัวโครงการ ปิด all project accounts. วางแผนเลี้ยงฉลองเพื่อแสดงให้เห็นว่า end of a (successful) project.

Project Evaluation Individual Performance Review เริ่มด้วยการประเมินผลงานของแต่ละคน หลีกเลี่ยงคำถาม “ทำไมคุณถึงไม่ทำอย่างนั้น อย่างนี้” เน้นที่ specific behaviors, not the individual. คงเส้นคงวาและยุติธรรม การทบทวนควรให้แนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน

Project Evaluation Postmortem Review – ระหว่าง Project Manager และ Project Team ทบทวน initial project’s MOV. ทบทวน project scope, schedule, budget, และ quality objectives. ทบทวนแต่ละ project deliverable ทบทวน project plans และ Project Management Body of Knowledge (PMBOK) areas ทบทวน project team performance.

Project Evaluation Project Audit ควรทำโดย outside Auditor ผู้ซึ่ง: ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือผลประโยชน์กับโครงการ ได้รับการยอมรับจากคนทั่วไป ไม่เอนเอียงและยุติธรรม เป็นผู้ที่ยินดีที่จะฟัง นำเสนอแบบไม่กลัวการโต้แย้งในเรื่องที่สนใจเป็นพิเศษ ดำเนินการแบบก่อให้เกิดผลประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร มีความรู้ในโครงการและประสบการณ์ในวงกว้าง

Project Evaluation การประเมิน Project Success – The MOV sponsor/customer มีความพึงพอใจหรือไม่? การบริหารโครงการดีเพียงพอหรือไม่? ผู้บริหารโครงการและทีมทำตัวเหมาะสมในเชิง professional and ethical manner หรือไม่? อะไรคือสิ่งที่ทำถูกต้อง? อะไรที่เราสามารถทำให้ดีขึ้นได้ในครั้งต่อไป?

จบหัวข้อ 12 คำถาม ………..